แผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่สังคมฐานความรู้ (พ.ศ.2555-2558) |
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลสู่ความเป็นพลโลก | ||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรหลากหลายตามวิสัยทัศน์ | ||||||||
มาตรการที่ 1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา | ||||||||
งานวิจัยการใช้หลักสูตรสถานศึกษา | ||||||||
งานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมและกระบวนการเรียนรู้ | ||||||||
งานประเมิน กำกับ ติดตาม และตรวจสอบการใช้หลักสูตร | ||||||||
งานพัฒนาการวัดและประเมินผลตามศักยภาพผู้เรียน | ||||||||
งานพัฒนาแผนงานวิชาการ | ||||||||
มาตรการที่ 1.1 หลักสูตรกลุ่มประสบการณ์ | ||||||||
งานพัฒนาหลักสูตร Patai Udom Suksa Programme - หน่วย เรียนรู้รอบรั้วโรงเรียน - หน่วย หนูรักภาษาและความเป็นไทย - หน่วย สนุกวิทย์ คิดเลขได้ พร้อมใช้ ICT - หน่วย อนุบาลไผทฯ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม - หน่วย พละบูรณาการ |
||||||||
งานพัฒนาหลักสูตร Patai Children's Hub | ||||||||
งานพัฒนาหลักสูตร บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย | ||||||||
มาตรการที่ 1.2 หลักสูตรโรงเรียนไผทอุดมศึกษา อิงหลักสูตรแกนกลางฯ | ||||||||
งานพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมกระบวนการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระ | ||||||||
งานพัฒนาเครื่องมือและวิธีวัดและประเมินผลให้ตรงตามความสามารถผู้เรียน | ||||||||
งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ - บูรณาการการคิดในทุกกลุ่มสาระฯ - บูรณาการคุณธรรม จริยธรรมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -พัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์ในกลุ่มสาระฯ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษาฯ | ||||||||
บูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Activity-Based Learning) ในแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดและทักษะปฏิบัติ | ||||||||
หลักสูตร Science Adventure Project | ||||||||
จัดโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตร | ||||||||
ด้านการคิด - พัฒนาทักษะการคิดด้วย "เกมมโนทัศน์ด้านจำนวน" ระดับอนุบาล 1-3- โครงการ "รู้ไว้ใช่ว่า พัฒนาการคิด" - กิจกรรมเสริมต่อจินตนาการ สู่ผลงานสร้างสรรค์ - โครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์ - โครงการโครงงานคณิต-วิทย์ นักคิดไผทฯ - โครงการลับสมอง - โครงการ IQ นักคิด พิชิตปัญหา - โครงการสนุกคิดกับวิทยาศาสตร์ | ||||||||
ด้านการอ่าน คิดและเขียน - กิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน | ||||||||
มาตรการที่ 1.3 หลักสูตรสถานศึกษาแบบ | ||||||||
- งานพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบวิจัยด้วยกระบวนการเรียนรู้ Project Approach in Patai's Style | ||||||||
มาตรการที่ 2 เสริมสร้างคุณภาพผู้เรียน | ||||||||
จัดซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน - โครงการซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน- โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ - โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนมัธยมศึกษา | ||||||||
เพิ่มพูนศักยภาพผู้เรียนที่มีความสามารถให้ดียิ่งขึ้น |
||||||||
จัดการแนะแนวการศึกษา |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 2 การพัฒนาการจัดการศึกษาหลักสูตรความสามารถพิเศษ | ||||||||
มาตรการที่ 1 พัฒนาการวัดแววอัจฉริยะ - โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือวัดความสามารถพิเศษ ร่วมกับหน่วยงานอื่น- งานวัดแววความสามารถพิเศษเพื่อจัดชั้นเรียน | ||||||||
มาตรการที่ 2 พัฒนาหลักสูตรความสามารถพิเศษและการเทียบโอน - โครงการวิจัยมาตรฐานการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ- งานพัฒนาโครงสร้างหลักสูตรความสามารถพิเศษ - งานพัฒนาหลักสูตรทักษะการคิดด้วยนวัตกรรม Exploring Centre * นวัตกรรมพัฒนาสมองกับการเรียนรู้ Exploring Centre * โครงการพัฒนาทักษะการคิดใน Exploring Centre * กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน "ต้นไม้รักการอ่าน" * กิจกรรมพัฒนาศักยภาพดาว 3 สี * กิจกรรมเสริมสร้างพลังปัญญา (กิจกรรมภายนอก) - งานพัฒนาหลักสูตรลดระยะเวลาเรียน (Acceleration) - งานพัฒนาหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ (Enrichment) * บูรณาการทักษะการคิด * พัฒนาคู่มือหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ตามระดับชั้น และสาขา - งานพัฒนาหลักสูตรขยายประสบการณ์ (Extension) * Project ปัญญาในสระบัว (ปีการศึกษา 2555) * Project นาข้าวทดลอง (ปีการศึกษา 2556) - งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้กับผู้เชี่ยวชาญ Mentoring * กิจกรรมการเรียนการสอนผู้เรียนความสามารถพิเศษ กลุ่ม Highly Gifted * การเสริมศักยภาพกลุ่มย่อยโดยผู้เชี่ยวชาญ(ติวโดยผู้เชี่ยวชาญ) - งานพัฒนาการประเมินผล การจัดการศึกษาผู้เรียนความสามารถพิเศษ | ||||||||
มาตรการที่ 3 นำหลักสูตรและกระบวนการจากต่างประเทศมาใช้พัฒนาการเรียนการสอน - งานหลักสูตรความสามารถพิเศษและแผนการสอนจากต่างประเทศ* การพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย Connecticut และ Renzulli * การใช้ Learning Module จากสถาบันชั้นนำด้าน ความสามารถพิเศษจากต่างประเทศ - ค่ายพัฒนาอัจฉริยภาพ | ||||||||
มาตรการที่ 4 ศูนย์จิตวิทยาและแนะแนว - งานพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ | ||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 3 การจัดการศึกษาภาคภาษาอังกฤษสู่มาตรฐานโลก (World Class Standard) | ||||||||
มาตรการที่ 1 |
||||||||
- วางแผนการพัฒนาหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ - ประเมินหลักสูตรฯ * ประเมินภายใน * International Assessment |
||||||||
มาตรการที่ 2 พัฒนาหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ ระดับปฐมวัย |
||||||||
- วางแผนพัฒนาหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษระดับปฐมวัย - ดำเนินงานการใช้หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษระดับปฐมวัย - ประเมินหลักสูตรฯ |
||||||||
มาตรการที่ 3 พัฒนาบุคลากร |
||||||||
- Teacher Idol * Training, Workshop * Field Trip * Out source Assessment * Teacher Centre | ||||||||
มาตรการที่ 4 ส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน | ||||||||
- Study on the move. * English Summer Camp * Inter Camp * Academic สัญจร * English Championship * กิจกรรม DEAR * กิจกรรม Book Fair | ||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 4 WWW. Wireless World Wide |
||||||||
มาตรการที่ 1 พัฒนาการเรียนรู้ Real World Learning เชื่อมโยงเครือข่ายกับต่างประเทศ |
||||||||
- งานสร้างโรงเรียนเครือข่าย (Partner School) เพิ่มเติม - งานพัฒนาสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนโครงการ Real World Learning - โครงการ Real World Learning |
||||||||
มาตรการที่ 2
Patai's Education for ASEAN : ไผทฯ เปิดโลกการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน • พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ |
||||||||
- โครงงาน "หนึ่งใจเดียวกัน 10 ร้อยรวมมั่น สานสัมพันธ์อาเซียน" - งานปรับโครงสร้างเวลาเรียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - งานบูรณาการเนื้อหาเกี่ยวกับ ASEAN ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ของทุกระดับชั้น |
||||||||
• พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ | ||||||||
- งานพัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้รูปแบบ ASEAN Focus, Gen A Explorer (Generation ASEAN Explorer) ASEAN Pavilion ASEAN Corner ณ หอสมุดเฉลิมพระเกียรติฯ | ||||||||
• สนับสนุน Patai's Education for ASEAN : ไผทฯ เปิดโลกการเรียนรู้สู่ | ||||||||
- งานประชาสัมพันธ์และประสานงานกับหน่วยงานภายนอก | ||||||||
• "ไผทฯ เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน" | ||||||||
- กิจกรรมพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ภาษาอังกฤษแก่ผู้เรียน - กิจกรรมแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศอาเซียน - กิจกรรมเสนอข่าวสารอาเซียนแก่ผู้เรียน บุคลากร และผู้ปกครอง |
||||||||
มาตรการที่ 3 หลักสูตร ICT Chalk-Free Approach |
||||||||
- ส่งเสริมการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้สู่สากล - พัฒนาการเรียนรู้ด้วยสื่อสร้างสรรค์ E-Learning |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 5 การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย |
||||||||
มาตรการที่ 1 จัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงานตามแบบไผทอุดมศึกษา (Project Approach in Patai's Style) | ||||||||
- งานพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานฯ |
||||||||
มาตรการที่ 2 จัดกระบวนการเรียนรู้ แบบซักค้านบนฐานความพอเพียง (The Jurisprudential Model on Sufficiency Economy Path) | ||||||||
- งานวิจัยและทดลองกระบวนการเรียนรู้แบบซักค้าน ยอมความตามเหตุผล | ||||||||
มาตรการที่ 3จัดกระบวนการเรียนรู้ แบบไผทฯ ไตรบท (Patai Triple I Model) | ||||||||
- งานส่งเสริม พัฒนาผลงานผู้เรียน จากการเรียนรู้แบบ Patai Triple I ให้สร้างสรรค์ หลากหลายและนำความรู้เทคโนโลยี และสาระวิชามาสร้างสรรค์งาน - กิจกรรมการเรียนรู้ World Wide by Active Board - งานวิจัยกระบวนการเรียนรู้แบบ Patai Triple I |
||||||||
มาตรการที่ 4 จัดกระบวนการเรียนรู้ไผทฯจตุบท | ||||||||
- งานวิจัยกระบวนการเรียนรู้แบบไผทฯจตุบท - งานพัฒนาแผนการเรียนการสอนแบบไผทฯจตุบททุกระดับชั้น - งานพัฒนาเครื่องมือวัดผลให้ตรงตามสภาพจริงและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน - งานกำกับ ติดตาม การใช้ไผทฯจตุบทโดยการนิเทศการสอน |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 6 การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ |
||||||||
มาตรการที่ 1พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายใน | ||||||||
- โครงการเรียนรู้รอบรั้วโรงเรียน * พัฒนาแผนการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในที่สอดคล้องกับเนื้อหา 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ |
||||||||
- งานประกันคุณภาพ แหล่งเรียนรู้และศูนย์การเรียนรู้ | ||||||||
- โครงการหอสมุดดุจปัญญาพาก้าวไกล | ||||||||
มาตรการที่ 2 เชื่อมโยงการเรียนรู้สู่แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น - โครงการเปิดโลกกว้างทางปัญญา |
||||||||
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาความฉลาดทาง จริยธรรม ศีลธรรม (MQ: Moral Quotient) และอารมณ์ (EQ: Emotional Quotient) กลยุทธ์หลักที่ 1 การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นไทย |
||||||||
มาตรการที่ 1ส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม - เสริมสร้างลักษณะนิสัยรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และภูมิใจในความเป็นไทย | ||||||||
- โครงการไผทอุดมศึกษา แทนคุณแผ่นดินไทย - งานสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย - โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย - โครงการไผทฯรักชาติ o กิจกรรม กล้วยไม้ในแจกัน - กิจกรรม ผ้าขาวม้าคุณปู่ - กิจกรรม ลมเย็นเล่นว่าว o กิจกรรม สูตรรัก สูตรลับครอบครัวของฉัน (วัฒนธรรม ครอบครัว) o กิจกรรม นี่แหละ...ประเทศไทย (สัญลักษณ์ของไทย) o กิจกรรม อมตะเพลงไทย o กิจกรรม คนไทยแท้ๆ (สัญลักษณ์ของไทย) o กิจกรรม พ่อของแผ่นดิน o กิจกรรม ตามล่าสถานที่ (สิ่งปลูกสร้าง/สถาปัตยกรรม ชุมชน) o กิจกรรม ภูมิใจถิ่นไทยท่องวัฒนธรรม |
||||||||
จัดกิจกรรมไผทฯ ใฝ่คุณธรรม ที่เน้นไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา | ||||||||
- งานพัฒนาแผนงานศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษา - งานพัฒนาแผน/สื่อการสอนที่ส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรม - โครงการต้นกล้าคุณธรรม - โครงการเด็กดี ศรีไผทฯ -ระเบียบดี วินัยเด่น - กิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิต - โครงการเด็กดี V-Star - โครงการตามรอยพ่อของแผ่นดิน พออยู่พอกินและพอเพียง - กิจกรรมดอกไม้ให้คุณ - โครงการหนึ่งห้องเรียน หนึ่งโครงการ สร้างความดี(จิตอาสา) - โครงการ Public Mind: หัวใจคุณธรรม - โครงการเด็กดี ศรีไผท -กิจกรรมผู้พิทักษ์รักษ์สะอาด (จิตอาสา) - โครงการไผทอุดมศึกษาสร้างสรรค์สังคม (จิตอาสา) - โครงการแลกปัญญา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการ Family Project - โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาสิ่งเสพติด - โครงการ Patai Channel |
||||||||
มาตรการที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาสุนทรียภาพสู่อัจฉริยภาพ • ส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี | ||||||||
- โครงการ Therapeutic Media เพื่อพัฒนาสมอง - กิจกรรมยุวศิลป์ - โครงการมุ่งสู่ฝันสร้างสรรค์ศิลปิน - โครงการรวมพลังพัฒนา ศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษด้านศิลปะและนาฏศิลป์ดนตรี ตามงานวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - โครงการ Wednesday Club - กิจกรรม Art and Music Save the Earth |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพกาย | ||||||||
มาตรการที่ 1
ส่งเสริมสุขภาพร่างกาย ให้แข็งแรงสมบูรณ์ • ส่งเสริมโภชนาการที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและสมอง |
||||||||
- โครงการ ฉลาดบริโภค ต้านโรค พัฒนาสมอง | ||||||||
• พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มีสุขภาพกายที่ดีและสมรรถภาพทางกายได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด | ||||||||
- โครงการเด็กไผทฯ สดใสแข็งแรง - งานตรวจสุขภาพอนามัย - โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางกีฬา |
||||||||
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพบุคลากรยุคใหม่ กลยุทธ์หลักที่ 1 การพัฒนาสมรรถนะครูและผู้บริหาร |
||||||||
มาตรการที่ 1 ส่งเสริมด้านปัญญา มาตรการที่ 1.1 ส่งเสริมให้บุคลากรเป็นผู้ใฝ่รู้ • พัฒนาตนเองที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพอย่างสม่ำเสมอ |
||||||||
- โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากร - โครงการยกระดับสมรรถนะครู การทดสอบภาคความรู้ตามสาขาวิชาที่สอน 1 ครั้งต่อปีการศึกษา - โครงการ DEAR ครู |
||||||||
• พัฒนาสื่อการประกอบการเรียนการสอนให้ทันสมัย และใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ||||||||
- โครงการครูดีมีสื่อ | ||||||||
• ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา | ||||||||
- โครงการวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ | ||||||||
มาตรการที่ 1.2 ส่งเสริมให้บุคลากรสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นการสื่อสารทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน | ||||||||
- โครงการใช้เวลาว่างกับครูต่างชาติ โดยการอบรมภาษาอังกฤษแก่ผู้บริหารและครู 100 ชั่วโมง ใน 1 ปี | ||||||||
มาตรการที่ 1.3 พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยี | ||||||||
- โครงการ ICT HRD | ||||||||
มาตรการที่ 2
ส่งเสริมด้านสติ-อารมณ์ และคุณธรรมแก่บุคลากร มาตรการที่ 2.1 ส่งเสริมให้เป็นผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี |
||||||||
- โครงการครูไผทฯ ใฝ่คุณธรรม | ||||||||
มาตรการที่ 2.2 สนับสนุนให้มีการทำงานเป็นทีม และร่วมมือกันกันปฏิบัติงานจนประสบผลสำเร็จ | ||||||||
- โครงการพี่ช่วยน้อง ผองเพื่อนไผทฯ | ||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 2 การบริหารจัดการบุคลากร | ||||||||
มาตรการที่ 1 จัดอัตรากำลังบุคลากร | ||||||||
- จัดอัตรากำลังบุคลากรในแต่ละส่วนการศึกษา / การเชื่อมโยงกับองค์กรภายนอกในการจัดหาครูสอนในกลุ่มสาระที่ ขาดแคลน หรือกิจกรรมเสริม - Outsource |
||||||||
มาตรการที่ 2 ประเมินคุณภาพบุคลากร | ||||||||
- ประเมินและติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากร - นิเทศบุคลากร - งานส่งผลงานครูประกวดภายนอก |
||||||||
มาตรการที่ 3 สร้างขวัญและกำลังใจบุคลากร | ||||||||
- พิจารณาความดีความชอบ ประจำปี - โครงการครุทายาท - โครงการ Patai Quality Award |
||||||||
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์หลักที่ 1การกำหนดนโยบาย การอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม |
||||||||
มาตรการที่ 1 พัฒนานโยบายและแผนปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม | ||||||||
- งานพัฒนา ปรับปรุงพัฒนาโรงเรียนที่ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม | ||||||||
มาตรการที่ 2 จัดการการใช้พลังงานในโรงเรียน | ||||||||
- งานจัดการการใช้พลังงานในโรงเรียน (ไฟฟ้า, น้ำมัน) | ||||||||
มาตรการที่ 3 จัดการการใช้น้ำในโรงเรียน | ||||||||
- งานจัดการการใช้น้ำในโรงเรียน | ||||||||
มาตรการที่ 4 จัดการขยะและของเสียในโรงเรียน | ||||||||
- งานจัดการขยะและของเสีย | ||||||||
มาตรการที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน | ||||||||
- งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้และศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียน | ||||||||
มาตรการที่ 6 สร้างเครือข่ายอนุรักษ์พลังงาน | ||||||||
- งานดำเนินการตามโครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านการอนุรักษ์พลังงาน - งานดำเนินการตามโครงการยกระดับห้องเรียนสีเขียวให้เป็นโรงเรียนสีเขียว |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 2 การดำเนินการ ไผทฯเตรียมรับปรับตัวสู้โลกร้อน | ||||||||
มาตรการที่ 1 รณรงค์การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม | ||||||||
- กิจกรรมรณรงค์การใช้กระติกน้ำแทนขวดพลาสติก - กิจกรรม Low Carbon |
||||||||
มาตรการที่ 2 จัดกิจกรรมไผทฯ รวมใจปลูกป่า ถวายพ่อหลวง | ||||||||
- โครงการรวมพลังไผทฯ รักษ์สิ่งแวดล้อม น้อมถวายพ่อหลวง | ||||||||
มาตรการที่ 3 เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ | ||||||||
- โครงการไผทฯ เตรียมรับปรับตัวสู้โลกร้อน - โครงการผู้เรียน นักอนุรักษ์ |
||||||||
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการศึกษา กลยุทธ์หลักที่ 1การประกันคุณภาพภายในสู่ภายนอก |
||||||||
มาตรการที่ 1จัดระบบการประกันคุณภาพภายใน ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล | ||||||||
- งานกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพภายใน - งานพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน - งานการนำผลการประเมินภายในไปใช้พัฒนาคุณภาพ |
||||||||
มาตรการที่ 2 ควบคุมการประกันคุณภาพภายในสู่การประเมินคุณภาพภายนอก | ||||||||
- จัดทำรายงานประเมินคุณภาพภายในส่งต้นสังกัด - จัดทำรายงานการวิจัยหน่วยงานและสถานศึกษา |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 2 การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สู่สาธารณะ | ||||||||
มาตรการที่ 1
ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา • สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ • สนับสนุนทรัพยากร |
||||||||
ส่งเสริมให้มีการนำวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากภายนอกมาสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา |
||||||||
มาตรการที่ 2
เผยแพร่ความรู้สู่สังคม • สนับสนุนให้หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชนศึกษาการจัดการศึกษาของโรงเรียน |
||||||||
- เปิดสถานศึกษาให้เป็นวิทยาทานแก่บุคคลภายนอก | ||||||||
• สนับสนุนให้โรงเรียนเป็นสถานที่พัฒนาองค์ความรู้ให้แก่นิสิตและนักศึกษา | ||||||||
- งานพัฒนานักศึกษาฝึกงานร่วมกับสถาบันต่างๆ | ||||||||
• ส่งเสริมการเผยแพร่การจัดการศึกษาของโรงเรียนแก่องค์กรการศึกษาและสาธารณชน | ||||||||
- งานเผยแพร่ผลงาน ปัญญาทางวิชาการ และปัญญาทางคุณธรรมสู่สังคมภายนอก | ||||||||
มาตรการที่ 3
สร้างสัมพันธ์ชุมชน • สร้างเครือข่ายผู้ปกครอง ศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน |
||||||||
- งานสื่อสารจากใจบ้านและโรงเรียน - โครงการสื่อสัมพันธ์บ้าน โรงเรียน - โครงการสร้างฐานข้อมูลผู้ปกครอง / ศิษย์เก่า / ศิษย์ปัจจุบัน |
||||||||
• จัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน | ||||||||
- โครงการไผทอุดมศึกษา แทนคุณแผ่นดินไทย o กิจกรรมเทิดทูนชาติ ศาสน์ กษัตริย์ - กิจกรรมขอบคุณจากใจ ไผทอุดมศึกษา สู่ตำรวจจราจร - โครงการ International Day |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่3 การบริหารแบบองค์รวมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคล | ||||||||
มาตรการที่ 1 สนับสนุนให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วม | ||||||||
- แผนพัฒนางาน ทุกส่วนการศึกษา - การกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานจากการกระจายอำนาจ |
||||||||
มาตรการที่ 2 จัดสรรทรัพยากร | ||||||||
- บุคลากร - งบประมาณ - สถานที่ |
||||||||
กลยุทธ์หลักที่ 4 การบริหารจัดการตามนโยบายพิเศษ | ||||||||
- งานดำเนินงานต่อเนื่อง โครงการบัณณาสสมโภช ระยะที่ 3 | ||||||||
มาตรการที่ 2 โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย | ||||||||
- งานผู้นำเครือข่าย "บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย" | ||||||||
|