แผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่สังคมฐานความรู้  (พ.ศ.2555-2558)  

The Strategic Plan for Educational Development to Knowledge-Based Society

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์ที่ 1   การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลสู่ความเป็นพลโลก

กลยุทธ์หลักที่ 1    การส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรหลากหลายตามวิสัยทัศน์

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

 

w งานวิจัยการใช้หลักสูตรสถานศึกษา

 

 1.  ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

 

 1.  โรงเรียนมีผลงานวิจัยการพัฒนาหลักสูตรและนำผลการวิจัยไปไว้เพื่อพัฒนาผู้เรียน

 

10,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 2.  เพื่อศึกษาผลการใช้หลักสูตรของโรงเรียนไผทอุดมศึกษา

 3.  เพื่อนำผลจากการศึกษาไปพัฒนาหลักสูตรต่อไป

 2.  ผู้ที่เกี่ยวข้องมากกว่าร้อยละ 90 พึงพอใจผลการใช้หลักสูตร

 3.  ผลการพัฒนาเป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตรในระดับดี

 4.  ผู้ที่เกี่ยวข้องนำผลของข้อมูลไปใช้ได้มากกว่าร้อยละ 80

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w งานวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมและกระบวนการเรียนรู้

 1.  เพื่อส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบใหม่

 2.  เพื่อศึกษาผลการใช้นวัตกรรมและกระบวนการเรียนรู้

 1.  ผลของความเปลี่ยนแปลงของบุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความสามารถพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้

 

 

 

 

 3.  เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่โรงเรียนพัฒนาขึ้น

 2.  ผลการใช้นวัตกรรมพัฒนาผู้เรียนได้ตามเป้าหมายของแต่ละนวัตกรรม

 3.  ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องพัฒนาตนเองในการนำนวัตกรรมไปใช้

 4.  นวัตกรรมเป็นต้นแบบระดับประเทศ

 

 

 

w งานประเมิน กำกับ ติดตาม และตรวจสอบการใช้หลักสูตร

 1.  เพื่อประเมินผลการใช้หลักสูตรของโรงเรียน

 2.  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้หลักสูตรและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 3.  เพื่อกำกับติดตามให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องนำหลักสูตรไปใช้ได้ตามเป้าหมายของหลักสูตร

 1.  หลักสูตรร้อยละ 90 เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตร

 2.  ผู้ใช้หลักสูตรมากกว่าร้อยละ 80 พึงพอใจจากการใช้หลักสูตร

 

 

 

10,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 3.  สรุปรายงานผลการติดตาม/ประเมิน ภายในเพื่อปรับปรุงคุณภาพการจัดหลักสูตรในปีการศึกษาต่อไป

 

 

 

 

w งานพัฒนาการวัดและประเมินผลตามศักยภาพผู้เรียน

 1.  เพื่อศึกษาผลการพัฒนาเครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับการประเมินด้วยเครื่องมือหลากหลายตรงตามศักยภาพ

50,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 2.  เครื่องมือวัดและประเมินผลหลากหลายมีความเที่ยงและความตรง

 3.  ผู้เรียนได้รับการวัดประเมินผลตรงตามความสามารถของผู้เรียนในรายบุคคล

 2.  ผลการประเมินคุณภาพ ผู้เรียน มีความน่าเชื่อถือ

 3.  ผลการประเมินมากกว่าร้อยละ 90 สามารถชี้วัดความสามารถผู้เรียนได้เป็นรายบุคคล

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาแผนงานวิชาการ

 1.  เพื่อพัฒนาระบบงานวิชาการให้มีแนวปฏิบัติที่นำไปใช้และสื่อสารได้ง่าย

 2.  เพื่อกำกับติดตามงานวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ

 

 1.  ทุกส่วนงานพึงพอใจและดำเนินงานวิชาการได้ตามนโยบาย

 2.  ผลการทำงานมากกว่าร้อยละ 90 เป็นไปตามระบบการทำงาน

 10,000

ทุกส่วนการศึกษา

มาตรการที่ 1.1

หลักสูตรกลุ่มประสบการณ์

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตร Patai Udom Suksa Programme

o หน่วย เรียนรู้รอบรั้วโรงเรียน

o หน่วย หนูรักภาษาและความเป็นไทย

o หน่วย สนุกวิทย์ คิดเลขได้ พร้อมใช้ ICT

o หน่วย อนุบาลไผทฯ ห่วงใยสิ่งแวดล้อม

o หน่วย พละบูรณาการ

 1.  เพื่อพัฒนาหลักสูตรสู่ความเป็นสากลมากขึ้น

 1.  บุคลากร ครู ร้อยละ 100 จัดประสบการณ์การเรียนรู้เป็นสากล

 2.  ผู้เรียนระดับอนุบาล   ร้อยละ 100 มีพัฒนาการเรียนรู้เป็นไปตามวัยและศักยภาพรายบุคคล

30,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตร Patai Children’s Hub

 1.  ผู้เรียนก่อนระดับอนุบาลได้รับการพัฒนา To be big To be bright

 1.  ผู้เรียนก่อนระดับอนุบาลร้อยละ 100 มีพัฒนาการ 4 ด้าน   ตามวัย

30,000

 

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตร บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

 1.  ครูสร้างแผนการจัดประสบการณ์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ได้

 2.  ผู้เรียนระดับอนุบาล    มีความสุขกับการเรียนรู้ และการปฏิบัติทดลอง

 

 1.  แผนการจัดประสบการณ์มากกว่าร้อยละ 90 มีคุณภาพ พัฒนาประสบการณ์วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนได้ดี

 2.  ผู้เรียนระดับอนุบาล  ร้อยละ 100 รู้จักสังเกต และรักการปฏิบัติทดลอง

30,000

 

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 1.2

หลักสูตรโรงเรียนไผทอุดมศึกษา

อิงหลักสูตรแกนกลางฯ

 

w งานพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมกระบวนการเรียนรู้ของ         แต่ละกลุ่มสาระฯ

 

 

 

 

 1.  เพื่อพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมกระบวนการเรียนรู้รายกลุ่มสาระฯ ให้มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนให้สูงขึ้น

 

 1.  หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาตามนโยบายของโรงเรียน

 2.  ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนทุกระดับชั้นของแต่ละกลุ่มสาระฯ สูงขึ้นกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมา    ร้อยละ 5

 

15,000

 

ทุกส่วนการศึกษาของการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาเครื่องมือและวิธีวัดและประเมินผลให้ตรงตามความสามารถผู้เรียน

 

 1.  เพื่อพัฒนาเครื่องมือวัดผลให้มีประสิทธิภาพของความเที่ยงและความตรง มีความหลากหลายตามความสามารถของผู้เรียน

 2.  เครื่องมือของส่วนการศึกษาความสามารถพิเศษทุกสาขาวิชาใช้ทดสอบวัดความสามารถพิเศษของผู้เรียนตรงตามสาขาวิชาและความสามารถ

 1.  ผลของความสามารถผู้เรียนทุกระดับชั้น   ตรงตามสภาพจริง

 2.  ผู้เกี่ยวข้องมีความพอใจในเครื่องมือในระดับมาก

 3.  หลักสูตรความสามารถพิเศษมีเครื่องมือวัดและประเมินตรงตามความสามารถของผู้เรียน ทั้ง 4 สาขาวิชา ร้อยละ 100

 

50,000

ทุกส่วนการศึกษาของการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน

·    พัฒนาหลักสูตรรายกลุ่มสาระฯ

 

 

 

 

w งานพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

o  บูรณาการการคิดในทุกกลุ่มสาระฯ

o  บูรณาการคุณธรรม จริยธรรมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

o  พัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์ในกลุ่มสาระฯ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษาฯ

 1.  เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนทุกระดับชั้นและทุกส่วนการศึกษา ได้รับการพัฒนาทักษะการคิดในทุกมิติของการเรียน

 3.  ผู้เรียนทุกระดับชั้นและทุกส่วนการศึกษา   ได้รับการฝึกฝนและพัฒนาทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ

 1.  ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกว่า ปีการศึกษาที่ผ่านมา    ร้อยละ 5

 2.  ผลการประเมินด้านทักษะการคิดของผู้เรียนอยู่ในระดับดีมากกว่า        ร้อยละ 90

 3.  ผู้เรียนร้อยละ 100  ได้รับการพัฒนาทักษะการคิด

12,000

ทุกส่วนการศึกษา

ของการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน

 

 

 4.  เพื่อพัฒนาผู้เรียน      ทุกระดับชั้นและทุกส่วนการศึกษาได้รับการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 

 

 

 4.  ผลการประเมินคุณธรรม 8 ประการ ของผู้เรียนอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ 90

 5.  ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ของผู้เรียนอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ 90

 

 

 

 

 

 

 5.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนทุกระดับชั้นและทุกส่วนการศึกษาให้มีความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ ที่สูงขึ้น

 6.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการพัฒนาทักษะการคิด

 6.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เชื่อมโยงทักษะการคิดสู่การแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ได้

 

 

 

 

 

 

w บูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Activity-Based Learning) ในแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดและทักษะปฏิบัติ

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนทุกระดับชั้นและทุกส่วนการศึกษาได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้

 1.  ผลการประเมินด้านทักษะการคิดของผู้เรียนอยู่ในระดับดีมากกว่า        ร้อยละ 90

12,000

ทุกส่วนการศึกษาของการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน

 

 

 2.  แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ร้อยละ 60 ได้ปรับโดยเน้นทักษะการคิดและทักษะการปฏิบัติคุณภาพ แผนสามารถนำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ทักษะการคิดและปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ

 2.  แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดและการปฏิบัติ          ร้อยละ 100

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 80 พึงพอใจจากการเรียนรู้ด้วยกิจกรรม

 

 

 

 

 

 

 

 

·    หลักสูตร Science Adventure Project

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตร Science Adventure Project

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนทุกส่วนการศึกษาของประถมฯได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

 1.  ผลความสามารถทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ 90

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 พึงพอใจในหลักสูตร

300,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

 

 

 

 

w โครงการ SAP Show

o Science Show

o การประกวดสิ่งประดิษฐ์

 1.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนส่วนการศึกษาประถมฯได้แสดงออกถึงความสามารถทักษะทางวิทยาศาสตร์

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 พึงพอใจที่ได้แสดงความสามารถของตน

10,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษาและภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 2.  ผู้เรียนนำความรู้จากการเรียนหลักสูตร “SAP” ถ่ายทอดในรูปแบบ Science Show ได้

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 พึงพอใจที่ได้นำเสนอความสามารถจากการเรียน “SAP”

 

 

 

 

 3.  ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มและใช้ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์

 4.  นำความรู้มาประยุกต์สู่ผลงานการประดิษฐ์ได้อย่างสร้างสรรค์

 3.  ผู้เรียนมีความสนใจทางวิทยาศาสตร์และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์

 4.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลงานสิ่งประดิษฐ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

·    จัดโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตร

   -  ด้านการคิด

w พัฒนาทักษะการคิดด้วย “เกมมโนทัศน์ด้านจำนวน”

ระดับอนุบาล 1-3

 

 1.  ครูสร้างสื่อเกม เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดด้านทักษะคณิตศาสตร์

 2.  ผู้เรียนระดับชั้นอนุบาลได้รับการพัฒนาทักษะการคิด

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 มีพัฒนาการคิดคณิตศาสตร์ เหมาะสมกับวัย

2,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 

w โครงการ “รู้ไว้ใช่ว่า พัฒนาการคิด”

o   กิจกรรม “ปุจฉา ภาษา ท้าความคิด” (สาขาภาษาไทย)

o   กิจกรรม “สนุกคิดกับคณิตวันละคำถาม” (สาขาคณิตศาสตร์)

o   กิจกรรม “ถามแบบวิทย์ คิดอย่างมีเหตุผล”

(สาขาวิทยาศาสตร์)

 

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษระดับประถมศึกษา      ปีที่ 1-6

 2.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดที่หลากหลาย

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด

20,000

ส่วนการศึกษาความสามารถพิเศษ

 

w กิจกรรมเสริมต่อจินตนาการ สู่ผลงานสร้างสรรค์

 

 

 

 

 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความคิดและจินตนาการกับความรู้วิทยาศาสตร์ประยุกต์สู่แนวคิดสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์ในอนาคต

 1.  ผลงานผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์ในระดับดี

5,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

(สามัญ)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์ 

o กิจกรรมค่ายบูรณาการวิทย์-คณิต* (Day Camp)

o กิจกรรมแข่งขัน Science Show

o กิจกรรม นิทรรศการสัปดาห์วิทยาศาสตร์

 1.  เพื่อสร้างจิตวิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนของทุกส่วนการศึกษาเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวัน

 2.  เพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้านคณิต/วิทย์ แก่ผู้เรียนโดยการลงมือปฏิบัติ

 3.  เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนให้ได้แสดงออก

 1.  ร้อยละของผู้เรียนพึงพอใจในกิจกรรม

 2.  ร้อยละของผู้เรียนที่แสดงออกถึงการเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์

 3.  ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการพัฒนาด้านทักษะการคิด

 4.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 พึงพอใจที่ได้แสดงความสามารถ

15,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 4.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ตรงจากกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์

 5.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีผลการประเมินที่ได้รับความรู้จากกิจกรรม   ต่าง ๆ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการโครงงานคณิต-วิทย์ นักคิดไผทฯ

 1.  เพื่อพัฒนาทักษะทางคณิต/วิทย์ ของผู้เรียน และประยุกต์สู่การนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนได้สร้างผลงานในรูปแบบโครงงานตามที่ตนสนใจและถนัด

 

 1.  ผลการพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับดี

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 90 ได้สร้างผลงานโครงงานตามที่สนใจและถนัด

5,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษาสามัญและความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

w โครงการลับสมอง

o กิจกรรมปัญหาชวนคิด

o กิจกรรมมหัศจรรย์กับตัวเลข

 1.  เพื่อส่งเสริมการคิดให้กับผู้เรียนผ่านการฝึกด้วยกิจกรรม

 2.  เพื่อส่งเสริมการคิดให้กับผู้เรียนผ่านการฝึกด้วยรูปแบบโจทย์ปัญหา

 3.  เพื่อส่งเสริมการคิดให้กับผู้เรียนผ่านการฝึกด้วยรูปแบบโจทย์เชาว์ปัญหาตัวเลข

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการประเมินการคิดในระดับดี

 

12,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

(สามัญ)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการ IQ นักคิด พิชิตปัญหา

 1.  ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดแบบมีเหตุผล

 1.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90 มีการบันทึกการตอบคำถามรายสัปดาห์ในสมุดบันทึกและเข้าร่วมกิจกรรมโดยการแสดง พลาสปอร์ตเข้าร่วมกิจกรรมเช้านี้มีคำตอบ

3,000

ส่วนการศึกษา

มัธยมศึกษา

 

 

 

 

 

 

w โครงการสนุกคิดกับวิทยาศาสตร์

 1.  ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้แสดงออกด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 แสดงผลงานโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1,000

ส่วนการศึกษา

มัธยมศึกษา

 

-  ด้านการอ่าน คิดและเขียน

 

 

w กิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และใช้ภาษาไทย ได้ดี

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน ได้เหมาะสมกับวัย

2,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

w กิจกรรมอาสาพาน้องอ่าน

 1.  เพื่อพัฒนาการอ่านของพี่ที่จบสามารถอ่านให้น้องฟังได้

 1.  พี่อนุบาลปีที่ 3 มีทักษะการอ่านที่ดี ร้อยละ 85

2,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการไผทฯ สร้างจิตสำนึก รักษ์ภาษา และวัฒนธรรมไทย

เพื่อพร้อมก้าวไปสู่อาเซียน

 1.  จำนวนนวัตกรรม กิจกรรม สื่อ เกม ข้อมูล

 2.  ผู้เรียนแสดงออกถึงการใช้ภาษาที่ถูกต้องการประพฤติปฏิบัติตนตามประเพณี วัฒนธรรม

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับข้อมูลการรักษ์ภาษาวัฒนธรรมผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาจากสื่อ เกม และนวัตกรรมต่างๆ

5,000

 ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

w โครงการรักษ์ไทย

o กิจกรรมนักอ่านรุ่นเยาว์

o กิจกรรมธำรงภาษา

o กิจกรรมลายมืองามอย่างไทย

o กิจกรรมภาษาสร้างสรรค์กวีศิลป์

 

 1.  เพื่อสร้างจิตสำนึกให้แก่ผู้เรียนในทุกส่วนการศึกษาและทุกระดับชั้น ตระหนัก และเห็นคุณค่าความเป็นเอกลักษณ์ และ        อัตลักษณ์ของไทย

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 แสดงออกถึงการเห็นคุณค่าของความเป็นไทย

4,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

(สามัญ)

 

 

 

 

 2.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกส่วนการศึกษาและทุกระดับชั้นเห็นความสำคัญของการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ร่วมโครงการการอ่าน และอ่านหนังสือสม่ำเสมอ

 

 

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการอ่านหนังสือในห้องสมุดและบันทึกความรู้ที่ได้จากการอ่าน

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีนิสัยรักการอ่าน สนใจแสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองได้ โดยปรากฏสถิติการอ่านในสมุดบันทึกสูงขึ้น

 

 

 

 

 

 

 4.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการใช้ภาษาไทย

 4.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 รู้ความหมายและใช้ภาษาไทยได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 5.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนคิด และเขียนภาษาไทยได้บรรจงสวยงามตามเอกลักษณ์ของไทย

 5.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการพัฒนาลายมือที่สวยงามได้

 

 

 

 

 6.  เพื่อพัฒนาการคัดลายมือของผู้เรียนได้สวยงามตามแบบอาลักษณ์

 6.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับการฝึกการคัดตัวอักษรแบบอาลักษณ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 7.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ภาษาไทยในการประพันธ์ได้อย่างดี

 7.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เข้าร่วมโครงการ และมีความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพื่อการประพันธ์

 

 

 

 

 8.  ผู้เรียนแต่งบทร้อยกรองได้ตามรูปแบบและ        ฉันทลักษณ์

 8.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 80 สามารถแต่งบทประพันธ์ได้ตามรูปแบบ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการปลูกต้นบรรณพฤกษ์ (Falling for Good Books)

o ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษสาขาภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ         (ระดับชั้น ป.5)

 2.  ผู้เรียนได้มีโอกาสเลือกซื้อหนังสือและแลกเปลี่ยนหนังสือที่น่าสนใจในการอ่านเป็นการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่าน

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 มีทักษะการเลือกซื้อหนังสือที่มีประโยชน์

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 100 มีทักษะการเลือกซื้อหนังสือที่มีประโยชน์

5,000

ส่วนการศึกษาความสามารถพิเศษ

 

 

 

w โครงการ Reading for the Future

o Reading Chant

o English from site by site

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนส่วนการศึกษาประถมศึกษาในทุกระดับชั้นได้รับการฝึกทักษะการสื่อสาร

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีทักษะด้านการสื่อสารได้ดี

6,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา(สามัญ)

 

 

 

 

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะโดยใช้กิจกรรม Reading Chant

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีทักษะด้านการสื่อสารได้ดี

 

 

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะผ่านกิจกรรมป้ายคำศัพท์ใกล้ตัวในชีวิตประจำวัน

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีทักษะด้านการสื่อสารได้ดี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการ Language Improving for the Future

o English Competition  

o Chinese Competition      

 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนส่วนการศึกษาประถมศึกษาและทุกระดับชั้นได้รับการฝึกทักษะด้านภาษาอังกฤษและภาษาสากล เพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 พึงพอใจกับกิจกรรมในโครงการ

3,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา(สามัญ)

และส่วนการศึกษาภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะโดยกิจกรรมเกม 50:50

 

 

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะโดยกิจกรรม Reading Contest

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการ English on the way

 1.  ผู้เรียนพัฒนาทักษะการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษและนำไปใช้ในชีวิต ประจำวันได้

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 จดบันทึก ฝึกอ่านคำศัพท์ และสอบผ่านการทดสอบ

1,000

ส่วนการศึกษา

มัธยมศึกษา

มาตรการที่ 1.3

หลักสูตรสถานศึกษาแบบ

บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 

w งานพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบวิจัยด้วยกระบวนการเรียนรู้ Project Approach in Patai’s Style

 

 

 1.  เพื่อศึกษาผลของการใช้กระบวนการการเรียนรู้ Project Approach in Patai’s Style

 

 1.  ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนด้านทักษะทางสังคมมากกว่าร้อยละ 90 อยู่ในระดับดี

 

 

30,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

ของระดับประถมฯ/มัธยมศึกษา

 

 

 2.  ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการสอนโดยใช้นวัตกรรม Project Approach in Patai’s Style

 2.  ผลที่เกิดขึ้นกับครูด้านการพัฒนาด้านการใฝ่รู้ ร้อยละ 90 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานครู

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีกระบวนการทำงานเป็นทีม ใช้กระบวนการคิด เรียนรู้ด้วยตนเอง

 4.  แผนการเรียนรู้แบบบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตรตามรอยพ่อของแผ่นดิน พออยู่ พอกินและพอเพียง

 

 

 

 

 1.  เพื่อพัฒนาหลักสูตรตามรอยพ่อฯ ให้มีประสิทธิภาพในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียนให้ดำเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีการแสดงออกถึงพฤติกรรมการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

12,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 2.  โรงเรียนมีการปรับปรุงสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับบริบทที่เป็นมาตรฐานสอดคล้อง

 2.  หลักสูตรมีประสิทธิภาพ มีการกำหนดสาระการเรียนรู้ที่บูรณาการ    ทุกกลุ่มสาระฯ

 

 

 

 

กับหลักสูตรแกนกลาง ครอบคลุมความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และสังคม

 3.  หลักสูตรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับการยอมรับและเป็นต้นแบบระดับประเทศ

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตรกาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ภาค 2

 

 

 

 1.  เพื่อพัฒนาหลักสูตรกาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ให้มีประสิทธิภาพในการพัฒนาความใฝ่รู้และทักษะการแสวงหาความรู้ให้กับผู้เรียน

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีนิสัยใฝ่เรียนรู้และมีทักษะการแสวงหาความรู้

 2.  หลักสูตรมีประสิทธิภาพพัฒนาผู้เรียนได้ตามเป้าหมาย

12,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

 

w งานพัฒนาหลักสูตรอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 1.  เพื่อพัฒนาหลักสูตรอนุรักษ์พลังงาน ให้มีประสิทธิภาพในการปลูกจิตสำนึกและการปฏิบัติของผู้เรียนให้อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีจิตสำนึกและการปฏิบัติในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 2.  หลักสูตรฯมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสำนึกอนุรักษ์พลังงาน

6,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 2

เสริมสร้างคุณภาพผู้เรียน

 

 

 

 

 

·    จัดซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน

w โครงการซ่อมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน

o คลินิกภาษา  (ภาษาไทย)

o One On One (ภาษาอังกฤษ)

o เติมเต็มความรู้ (คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสังคมศึกษาฯ)

 

 

 

 1.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการเรียนได้ตามเกณฑ์และได้รับการพัฒนาให้เต็มศักยภาพ

 1.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอยู่ในระดับดีมากกว่าร้อยละ 80

15,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา(สามัญ)

 

 2.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการเรียนในวิชาภาษาไทยได้ตามเกณฑ์ของโรงเรียน

 2.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาภาษาไทยสูงกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมา     ร้อยละ 5

 

 

 

 

 

-        ผู้เรียนร้อยละ 100 ผ่านมาตรฐานด้านภาษาไทยของโรงเรียน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์

 3.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษสูงกว่าปีการศึกษาที่ผ่านมาร้อยละ 5

-        ผู้เรียนร้อยละ 90 ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 4.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ ได้ตามเกณฑ์

 4.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษาฯ สูงกว่าเดิม     ร้อยละ 5

 

 

 

 

 

 

w โครงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์

 1.  พัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการ

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์การประเมินตามระเบียบวัดผลของกระทรวงศึกษาธิการ

4,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา(สามัญ)

 

 

 

 

 

w โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนมัธยมศึกษา

 1.  ผู้เรียนได้รับการสอนเสริมด้วยกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ มีการพัฒนาการเรียนรู้ที่ดีขึ้น

 1.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 90 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ที่สูงขึ้น

5,000

ส่วนการศึกษา

มัธยมศึกษา

·    เพิ่มพูนศักยภาพผู้เรียนที่มีความสามารถให้ดียิ่งขึ้น

 

 

 

 

 

w โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน

o กิจกรรมส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (NT,O-Net)

o กิจกรรมติวเข้มสู่ความเป็นเลิศ

 

 1.  ผู้เรียนระดับชั้น ป.3, ป.6 และ ม.3 มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (NT, O-NET) สูงกว่ามาตรฐานของทางโรงเรียนที่กำหนดไว้

 2.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมติวเข้มสู่ความเป็นเลิศ ได้รับรางวัลจากการแข่งขันวิชากับหน่วยงานภายนอกสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน

 

 

 

 1.  ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (NT, O-NET) สูงกว่ามาตรฐานของทุกสังกัดในระดับประเทศ  

 2.  รางวัลการแข่งขันของผู้เรียน

 3.  ผู้เรียนที่เป็นตัวแทนไปแข่งขันได้รับรางวัลต่าง ๆจากหน่วยงานภายนอก

 4.  ร้อยละของผลสัมฤทธิ์สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ทางโรงเรียนกำหนด

62,000

ส่วนงาน

พัฒนาศักยภาพ

การเรียนรู้

 

 

 3.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความสามารถทางวิชาการเพิ่มขึ้นในแต่ละสาขาวิชาที่ติวเข้ม ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ

 4.  ผู้เรียนนำความรู้ความสามารถจากการติวเข้มไปประยุกต์ใช้ในการสอบต่าง ๆ ได้

 5.  ผลการสอบเรียนต่อสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน ผู้เรียน มากกว่าร้อยละ 80 สอบเข้าเรียนต่อได้

 

 

·    จัดการแนะแนวการศึกษา

 

 

 

 

 

w งานแนะแนวการศึกษา

 1.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีแนวทางทางความคิดเกี่ยวกับการศึกษา อาชีพ และทักษะทางสังคมที่เหมาะสม

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีเป้าหมายในการศึกษาต่อ และมีทักษะทางสังคมตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์

 

 

 

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

และศูนย์วัดและประเมินผล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กลยุทธ์หลักที่ 2   การพัฒนาการจัดการศึกษาหลักสูตรความสามารถพิเศษ

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

พัฒนาการวัดแววอัจฉริยะ

 

 

 

 

 

w โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือวัดความสามารถพิเศษ

ร่วมกับหน่วยงานอื่น

 

 1.  จำนวนผู้เข้ารับการอบรมร่วมกับหน่วยงานภายนอก

 2.  เครื่องมือวัดความสามารถ 4 สาขา นำไปใช้วัดแววความสามารถของผู้เรียนได้เหมาะสม

 

 

 1.  มีเครื่องมือวัดแววเฉพาะสาขาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย อังกฤษ ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 ครบร้อยละ 100

 2.  ผู้บริหารหลักสูตรร้อยละ 90 ได้เข้ารับการอบรมการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือร่วมกับมหาวิทยาลัย             ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

 

 

10,000

 

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

w งานวัดแววความสามารถพิเศษเพื่อจัดชั้นเรียน

 1.  ผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 2-6 ได้ผ่านกระบวนการคิดสรรด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย

 2.  ผู้เรียนที่ผ่านการวัดแววสามารถเรียนในหลักสูตรความสามารถพิเศษได้

 1.  ผู้เรียนที่ได้รับการคัดสรรสามารถผ่านการวัดแววเข้าเรียนในหลักสูตรความสามารถพิเศษได้ร้อยละ 95

10,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

มาตรการที่ 2

พัฒนาหลักสูตรความสามารถพิเศษและการเทียบโอน

 

w โครงการวิจัยมาตรฐานการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ

 

 1.  การสร้างมาตรฐานการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ 4 สาขาวิชา

 1.  โรงเรียนได้จัดการศึกษาความสามารถพิเศษได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100

30,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาโครงสร้างหลักสูตรความสามารถพิเศษ

 1.  หลักสูตรได้รับการพัฒนาทั้ง 4 สาขาวิชา คือ วิทย์ คณิต ภาษาไทย อังกฤษ

 2.  หลักสูตรที่ได้รับการพัฒนาสามารถนำไปสอนกลุ่มผู้เรียนความสามารถพิเศษได้อย่างเหมาะสม

 1.  หลักสูตร/ปฏิทินแผนการสอนได้รับการปรับพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100

20,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตรทักษะการคิดด้วยนวัตกรรม

Exploring Centre

 1.  เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดที่หลากหลายจากการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จากสื่อ-เกม แบบฝึก- ใบงาน

 1.  นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่อ-เกม แบบฝึก ใบงาน

3,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

o นวัตกรรมพัฒนาสมองกับการเรียนรู้  Exploring Centre

1. เพื่อให้ครูสร้างสื่อและเกมที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ตั้งแต่ระดับอนุบาล

ปีที่ 1-3

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีทักษะกระบวนการสังเกต และใช้ทักษะทั้ง 5 อย่างสมดุล

5,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 

 

 

 

 

o โครงการพัฒนาทักษะการคิดใน Exploring Centre

1. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดอย่างหลากหลายให้กับนักเรียนระดับชั้น ป.1-ป.3

 1.  นักเรียนร้อยละ 90     มีทักษะกระบวนการคิดเพิ่มมากขึ้นจากกิจกรรมทั้งหลาย

3,000

ศูนย์วิทยพัฒนา

 

 

 

 

o กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “ต้นไม้รักการอ่าน”

1. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการอ่านโดยผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย

 1.  นักเรียนร้อยละ 90 มีพัฒนาการทางด้านการอ่านจากการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น

1,000

ศูนย์วิทยพัฒนา

 

 

 

 

 

o กิจกรรมพัฒนาศักยภาพดาว 3 สี

1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนจากการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อ-เกม ที่หลากหลาย

 1.  นักเรียนร้อยละ 90  สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่อ-เกม ที่หลากหลายภายในศูนย์วิทยพัฒนา

1,000

ศูนย์วิทยพัฒนา

 

 

 

 

 

 

o กิจกรรมเสริมสร้างพลังปัญญา (กิจกรรมภายนอก)

1. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดที่หลากหลาย โดยผ่านกิจกรรมและเกมให้กับนักเรียนที่สนใจในระดับชั้น ป.1-ป.6 นอกเวลาเรียน

 1.  นักเรียนร้อยละ 90 ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการด้านต่างๆ จากการเรียนรู้ร่วมกัน

3,000

ศูนย์วิทยพัฒนา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตรลดระยะเวลาเรียน (Acceleration)

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษระดับชั้น ป.1-ป.6

 2.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการนำเสนอ การถ่ายทอดความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

 1.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามหลักสูตร          ร้อยละ 100

30,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ (Enrichment)

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษ ระดับชั้น ป.1-ป.6

 2.  ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านเนื้อหา/การคิดระดับสูง/ อย่างเติมเต็มศักยภาพ

 1.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามหลักสูตร           ร้อยละ 100

50,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

o บูรณาการทักษะการคิด

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษระดับชั้น ป.1-ป.6

 2.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการคิด ผ่านโครงการและกระบวนการเรียน      การสอน

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษร้อยละ 100 ได้รับการส่งเสริมพัฒนาทักษะการคิดจากโครงการ รู้ไว้ใช่ว่า พัฒนาการคิดและกิจกรรมการเรียนการสอน

20,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

 

 

o พัฒนาคู่มือหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ตามระดับชั้น และสาขา

1. นักเรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษระดับชั้น ป.1-ป.6

2. ครูผู้สอนหลักสูตรความสามารถพิเศษ ระดับชั้น ป.1-ป.6

1. นักเรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษ ร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาด้วยแบบฝึกที่ได้รับการศึกษา

2. ครูผู้สอนหลักสูตรความสามารถพิเศษ   ร้อยละ 100 ได้รับการอบรมการเลือกสรรใบงานเพื่อการ Enrichment

20,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตรขยายประสบการณ์ (Extension)

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษระดับชั้น ป.1-ป.6

 2.  ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้โดยการขยายประสบการณ์ในการสร้างผลงาน

1. ผู้เรียนได้สร้างผลงานตามที่ตนถนัดและสนใจเต็มตามศักยภาพ

ร้อยละ 95

20,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

o Project ปัญญาในสระบัว (ปีการศึกษา 2555)

 1.  ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษ ระดับชั้น ป.4ป-.6

 2.  ผู้เรียนได้นำความรู้ตามหลักสูตรมาบูรณาการกับการเรียนรู้เกี่ยว    กับบัว  

1. ผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมพร้อมทั้งสร้างผลงานนำเสนอผลงานได้ร้อยละ 100

5,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

o Project นาข้าวทดลอง (ปีการศึกษา 2556)

 1.  นักเรียนหลักสูตรความสามารถระดับชั้น ป.4-ป.6

 2.  ผู้เรียนได้นำความรู้ตามหลักสูตรมาบูรณาการกับการเรียนรู้เกี่ยวกับนาข้าว

 1.  ผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมพร้อมทั้งสร้างผลงานนำเสนอผลงานได้ร้อยละ 100

10,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้กับผู้เชี่ยวชาญ Mentoring

1.   ข้อมูลเนื้อหา Enrichment  ระดับ

ชั้น ป.2-ป.6

2.   ข้อมูลการ Enrichment เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน

1.    ผู้เรียนกลุ่ม Highly Gifted ระดับชั้น ป.2-ป.6 ร้อยละ 100 สามารถเรียนรู้จากการ Enrichment ของผู้เชี่ยวชาญได้

10,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

o กิจกรรมการเรียนการสอนผู้เรียนความสามารถพิเศษ กลุ่ม Highly Gifted

1.   ผู้เรียนที่ได้รับการคัดสรรโดยครูและผู้เชี่ยวชาญ

2.   ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน

1.   ผู้เรียนที่ได้รับการคัดสรร (กลุ่ม Highly Gifted)  ร้อยละ 100   สามารถเรียนรู้จากการ Enrichment ของผู้เชี่ยวชาญได้

10,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

o การเสริมศักยภาพกลุ่มย่อยโดยผู้เชี่ยวชาญ

(ติวโดยผู้เชี่ยวชาญ)

1.   ผู้เรียนที่ผ่านการสอบรอบ 2 ของ สสวท.

2.   ผู้เรียนที่ได้รับการติวโดยผู้เชี่ยวชาญได้รับข้อมูลความรู้เพิ่ม

1.   ผู้เรียนที่ได้รับการติวโดยผู้เชี่ยวชาญร้อยละ 70 สามารถรับรางวัลหรือทำคะแนนเพิ่มได้

10,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

w งานพัฒนาการประเมินผล การจัดการศึกษาผู้เรียนความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

1.   นักเรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษ ระดับชั้น ป.1-ป.6

1.   นักเรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษ ระดับชั้น ป.2-ป.6 ร้อยละ 100 ได้ผ่านการวัดประเมินผล เฉพาะสาขาของหลักสูตร

20,0000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

มาตรการที่ 3

นำหลักสูตรและกระบวนการจากต่างประเทศมาใช้พัฒนาการเรียนการสอน

 

 

 

 

 

 

 

w งานหลักสูตรความสามารถพิเศษและแผนการสอนจากต่างประเทศ

 

 

 

 

o การพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย Connecticut และ Renzulli

1.   พัฒนาหลักสูตรความสามารถพิเศษร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย Connecticut และ Renzulli Academy เพื่อพัฒนาศักยภาพเฉพาะด้านของนักเรียน

1.   นักเรียนที่ใช้หลักสูตรที่ได้รับการพัฒนาแล้วได้รับการเพิ่มพูนศักยภาพเฉพาะด้านสูงขึ้น ร้อยละ 90

600,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

o การใช้ Learning Module จากสถาบันชั้นนำด้าน ความสามารถพิเศษจากต่างประเทศ

1.   ส่งเสริมความสามารถของนักเรียนด้วย Learning Model จากสถาบันชั้นนำด้านความสามารถพิเศษ จากต่างประเทศ

1.   นักเรียนที่เรียนด้วย Learning  Model ดังกล่าว ได้พัฒนาความสามารถของตนขึ้น ร้อยละ 90

200,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w ค่ายพัฒนาอัจฉริยภาพ

 

1.   พัฒนาและส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดและการทำวิจัยให้กับนักเรียน

1.   นักเรียนที่เข้าค่ายพัฒนาอัจฉริยภาพพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและการทำวิจัย      ร้อยละ 80

400,000

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

มาตรการที่ 4

ศูนย์จิตวิทยาและแนะแนว

 

 

 

 

w งานพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์

 

 

1.   ผู้เรียนหลักสูตรความสามารถพิเศษ ระดับชั้น ป.1-ป.6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

 

1.   ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและการควบคุมอารมณ์ตนเองได้อย่างเหมาะสม

 

70,000

 

ส่วนการศึกษา

ความสามารถพิเศษ

 

กลยุทธ์หลักที่ 3  การจัดการศึกษาภาคภาษาอังกฤษสู่มาตรฐานโลก  (World  Class Standard)

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่  1

พัฒนาหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

 

w วางแผนการพัฒนาหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ

w ดำเนินงานการใช้หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ

 

 

1.   ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียนสภาพเศรษฐกิจและสังคม

2.   ครูมีการกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

 

1.   มีหลักสูตรตามต้องการในท้องถิ่น และนำนวัตกรรมการเรียนรู้พัฒนาผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ขึ้นไป

2.   มีหลักสูตรแกนกลางในรายวิชาที่เพิ่มเติมที่สอดคล้องตามความต้องการของสังคมชุมชน

 

345,000

 

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

3.   จัดกิจกรรมดีเหมาะสมกับผู้เรียน และผู้เรียนได้เลือกตามความถนัดของตนเองและสมัครเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 100

 

 

 

 

 

w ประเมินหลักสูตรฯ

o ประเมินภายใน

1.   เพื่อสรุปผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา

1.   การดำเนินการเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษาอยู่ในระดับดีมาก

10,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

2.   ทำให้ได้ข้อมูลที่ช่วยในการปรับปรุงการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

2.   มีเอกสาร หลักฐาน การวัดและประเมินผลถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน

 

 

 

 

 

o International Assessment

-     Cambridge for Young Learners

-     YCT: Young Chinese Test

-     ทดสอบ PISA/GCSE Math & Science

1.   ผู้เรียนระดับชั้น ป.2,    ป.4, ป.6 และ ม.3 ของทุกส่วนการศึกษา

2.   ผู้เรียน IP ร้อยละ  100 เข้าร่วมสอบ

3.   ผู้เรียน ILP. ร้อยละ 70 เข้าร่วมสอบสามัญ ร้อยละ 50 เข้าร่วมสอบ

4.   ผู้เรียนสามารถสอบผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

 

1.   ผู้เรียนได้ทราบถึงระดับความรู้ด้านภาษาอังกฤษ มีความมั่นใจ มีทักษะพัฒนาความรู้ภาษาดีขึ้น ผู้ปกครองผู้เรียนมีความมั่นใจในการจัดการเรียนการสอน

2,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

มาตรการที่ 2

พัฒนาหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษ ระดับปฐมวัย

 

 

 

w วางแผนพัฒนาหลักสูตรภาคภาษาอังกฤษระดับปฐมวัย

w ดำเนินงานการใช้หลักสูตรภาคภาษาอังกฤษระดับปฐมวัย

w ประเมินหลักสูตรฯ

 

 

 

 

1.   การวิจัยสำรวจความพึงพอใจของผู้ปกครอง/ชุมชน การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

 

1.   มีความเชื่อมโยงไปสู่วิสัยทัศน์ร่วม พันธกิจร่วม ปฏิบัติงานร่วม และสร้างความรู้ร่วมกัน

2.   มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีความเป็นเลิศในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

3.   สนองความต้องการที่หลากหลายของเด็กปฐมวัย

 

1,300,000

 

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

มาตรการที่ 3

พัฒนาบุคลากร

 

 

 

 

 

w Teacher Idol

 

1.   ครูมีพัฒนาการทางวิชาชีพ

2.   ทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

 

1.   ครูผ่านการพัฒนา

ร้อยละ  100

 

134,000

 

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

o Training, Workshop

1.   เพิ่มประสิทธิภาพในการพูด อ่าน เขียน ฟัง ภาษาอังกฤษของครู

ดีขึ้น

1.   นักเรียนและครูมีปฏิสัมพันธ์ (Interact) ซึ่งกันและกัน

10,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

o Field Trip

1.   บุคลากรร้อยละ 90 ได้รับความรู้และได้รับแรงจูงใจให้ใฝ่รู้มาพัฒนางาน

2.   บุคลากรมีโลกทัศน์กว้างไกลและสามารถนำความรู้ที่ได้จากแหล่งเรียนรู้มาพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น 

1.   บุคลากรได้รับความรู้และนำมาใช้พัฒนางานได้มากขึ้น

2.   บุคลากรได้เปิดโลกทัศน์ใหม่ในการศึกษาหาความรู้จากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย

50,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

o Out source Assessment

1.   เพื่อครูสามารถนำมาบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ที่ทำการสอนในปัจจุบัน

1.   ครูเข้าร่วมโครงการ

ร้อยละ 100

50,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

o Teacher Centre

1.   พัฒนาการสอนของครูให้ถึงระดับครูสอนดีเลิศ

1.   ครูมีการพัฒนาการสอนร้อยละ 90 ขึ้นไป

30,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

มาตรการที่ 4

ส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน

 

 

 

w Study on the move.

 

 

1.   เพื่อนำความรู้ที่หลากหลายมาแลกเปลี่ยนรู้ซึ่งกันและกัน

 

1.   มีความรู้ตามความสนใจเต็มตามศักยภาพ

 

1,500,000

 

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

o English Summer Camp

1.   นักเรียนมีความสามารถ

2.   นักเรียนสามารถทำงานเป็นทีม

1.   นักเรียนเข้าร่วมโครงการร้อยละ 100

 

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

o Inter Camp

1.   ผู้เรียนระดับชั้น IP.1-IP.9 จำนวน 100 คน

2.   ผู้เรียนรู้เนื้อหาวิชาหลัก คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ

1.   นักเรียนมีความพึงพอใจตามความสนใจ

2.   นักเรียนมีความรู้ในกลุ่มสาระเพิ่มขึ้น

480,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

o Academic สัญจร

1.   ผู้เรียนร้อยละ 90 เข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายนอก

2.   ผู้เรียนมีการพัฒนาศักยภาพ ความรู้ความสามารถของตนเอง

1.   ผู้เรียนมีการพัฒนาศักยภาพด้านความรู้ความสามารถของตนเอง

2.   มีความกล้าแสดงออกและมีความรับผิดชอบ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

15,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

o English Championship

1.   นักเรียนมีทักษะในการเขียนภาษาอังกฤษเป็นบทความ

2.   นักเรียนมีทักษะในการฟัง พูด อ่าน เขียน

1.   นักเรียนสมัครใจเข้ารับการคัดสรรร้อยละ 70

10,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

o กิจกรรม DEAR

1.   ผู้เรียนร้อยละ 90 มีการพัฒนาด้านการอ่านการเขียนได้ดีกว่าเดิม

2.   ผู้เรียนมีทักษะในด้านการอ่านการเขียน สามารถสอบผ่านเกณฑ์ที่ได้ร้อยละ 90 ขึ้นไป

1.   ผู้เรียนมีการพัฒนาการ อ่านการเขียนอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด รักการอ่านมากขึ้น รับผิดชอบต่องานของตนเองได้มากขึ้น นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

10,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

 

o กิจกรรม Book Fair

1.   ผู้เรียน IP ประมาณร้อยละ 90 ขึ้นไป เข้าร่วมกิจกรรม

2.   ผู้เรียนมีทักษะทางด้านวิชาการและการแสดงออก

1.   ผู้เรียนมีพัฒนาการทางวิชาและการแสดงออก

2.   ผู้ปกครอง IP มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับครูและผู้เรียน

12,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

กลยุทธ์หลักที่ 4  WWW. Wireless World Wide

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

พัฒนาการเรียนรู้  Real World Learning เชื่อมโยงเครือข่ายกับต่างประเทศ

 

 

 

 

w งานสร้างโรงเรียนเครือข่าย (Partner School) เพิ่มเติม

 

 

 

 1.  สร้างโรงเรียนเครือข่ายในการต่างประเทศ

 2.  ทำโครงการกิจกรรมหรืองานร่วมกัน

 

 

1.            โรงเรียนไผทอุดมศึกษา สร้างโรงเรียนเครือข่ายกับโรงเรียนในต่างประเทศ นำไปสู่การทำโครงการกิจกรรมและงานร่วมกัน ร้อยละ 80

 

400,000

 

ส่วนงาน

ต่างประเทศ

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาสื่อสารสนเทศเพื่อสนับสนุนโครงการ Real World Learning 

 1.  สร้างเครื่องมือจากเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อช่วยในการทำกิจกรรมระหว่างโรงเรียน ครู และนักเรียนกับโรงเรียนเครือข่าย

1.            ใช้เครื่องมือเทคโนโลยีในการสนับสนุนการทำกิจกรรมกับโรงเรียนในเครือข่าย ร้อยละ 80

 

50,000

ส่วนงาน

ต่างประเทศ

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการ Real World Learning 

 1.  ส่งเสริมความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง

 2.  ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร

 3.  สร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการเป็นประชาคมโลก

 

1.            ครูและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้         ร้อยละ 90

2.            ครูและนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างและตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการเป็นประชาคมโลก ร้อยละ 90

50,000

ส่วนงาน

ต่างประเทศ

มาตรการที่ 2

Patai’s Education for ASEAN : ไผทฯ เปิดโลกการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซีย

 

 

 

 

 

 

·    พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้

 

 

w โครงงาน “หนึ่งใจเดียวกัน 10 ร้อยรวมมั่น สานสัมพันธ์อาเซียน”

 1.  ครู ผู้เรียนระดับอนุบาล มีความรู้ เข้าใจและเตรียมตัวเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน

 1.  ครูร้อยละ 100 สามารถเขียนแผนและนำไปใช้

10,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศใกล้เคียงและเป็นเพื่อนบ้านของเรา

 

 

 

 

 

 

w งานปรับโครงสร้างเวลาเรียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

 1.  ปรับโครงสร้างเวลาและโครงสร้างหลักสูตรรองรับกิจกรรมเกี่ยวกับอาเซียน

1.   มีการปรับหลักสูตรและโครงสร้างเวลาเรียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

30,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

 

 

 2.  ส่งเสริมการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

2.   ผู้เรียนทุกส่วนการศึกษาใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ ร้อยละ 90

 

 

 

 

 

 

 

w งานบูรณาการเนื้อหาเกี่ยวกับ ASEAN ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ของทุกระดับชั้น

 1.  เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ ได้บูรณาการเนื้อหาและกิจกรรมของวิชาเข้ากับเนื้อหาอาเซียนในหัวข้อที่กำหนด

 1.  ทุกกลุ่มสาระฯ จัดทำ web model และแผนการสอนบูรณาการกับเนื้อหาอาเซียนร้อยละ 100

12,000

 ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 2.  ปรับแผนการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการเนื้อหาเรื่องประชาคมอาเซียนในแผนการเรียนรู้

 2.  ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ร้อยละ 100

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 3.  ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนที่บูรณาการในเนื้อหาวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

 

 3.  ผู้เรียนทุกส่วนการศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนที่        บูรณาการในเนื้อหาวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ร้อยละ 80

 

 

·    พัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้

w งานพัฒนาสื่อแหล่งเรียนรู้รูปแบบ ASEAN Focus, Gen A Explorer (Generation ASEAN Explorer) ASEAN Pavilion ASEAN Corner หอสมุดเฉลิมพระเกียรติฯ

 

 

 

 1.  แหล่งเรียนรู้ ASEAN Focus และ Gen A Explorer มีสื่อการเรียนรู้เรื่องประชาคมอาเซียนอย่างครบถ้วนทุกเรื่องราว

1.    ผู้เรียนร้อยละ 100 เข้าศึกษาเรื่องประชาคมอาเซียนในแหล่งเรียนรู้

ASEAN Focus และ Gen A Explorer

 

50,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 2.  บริการข้อมูล ความรู้เกี่ยวกับอาเซียนผ่านกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการเป็นประชาคมอาเซียน

 

2.    ผู้เรียนทุกส่วนการศึกษามากกว่าร้อยละ 90 พึงพอใจการเข้าใช้แหล่งเรียนรู้

3.    ผลการประเมินการใช้แหล่งเรียนรู้จากผู้เกี่ยวข้องมีคุณภาพในการสร้างแรงจูงใจการเรียนรู้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

·    สนับสนุน Patai’s Education for ASEAN : ไผทฯ เปิดโลกการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

w งานประชาสัมพันธ์และประสานงานกับหน่วยงานภายนอก

 1.  เผยแพร่กิจกรรมงานเกี่ยวกับอาเซียนภายในโรงเรียนสู่สาธารณะชน

 1.  ชุมชนได้รับข่าวสารข้อมูลกิจกรรมงานเกี่ยวกับอาเซียนของโรงเรียน ร้อยละ 80

10,000

ฝ่ายงานต่างประเทศและประชาสัมพันธ์

·    “ไผทฯ เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน”

 

 

w กิจกรรมพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน

 

 1.  ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 1.  ผู้เรียนทุกส่วนการศึกษาได้นำภาษาอังกฤษไปใช้ในชีวิตประจำวัน       ร้อยละ 80

20,000

ฝ่ายงานต่างประเทศและส่วนการศึกษา

 

 

 

 

w กิจกรรมเสริมประสบการณ์ภาษาอังกฤษแก่ผู้เรียน

 1.  ส่งเสริมประสบการณ์ในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันแก่ผู้เรียน

 1.  ผู้เรียนทุกกลุ่มการศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม ชมรม ของส่วนการศึกษาตนเอง ร้อยละ 70

15,000

ฝ่ายงานต่างประเทศและส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

w กิจกรรมแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศอาเซียน

 1.  เสริมสร้างการเรียนรู้แบบร่วมมือกับโรงเรียนในกลุ่มประเทศอาเซียน

 2.  แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ประสบการณ์และวัฒนธรรม

 1.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้เรียนในโรงเรียนเครือข่ายร้อยละ 80

800,000

ฝ่ายงานต่างประเทศ

 

 

 

 

 

 

w กิจกรรมเสนอข่าวสารอาเซียนแก่ผู้เรียน บุคลากร และผู้ปกครอง

 1.  เผยแพร่กิจกรรมอาเซียนในโรงเรียนแก่ผู้เรียน บุคลากรและผู้ปกครอง

 1.  ผู้เรียน บุคลากร และผู้ปกครอง ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับกิจกรรมอาเซียนของโรงเรียน ร้อยละ 80

50,000

ฝ่ายงานต่างประเทศและส่วนการศึกษา

มาตรการที่ 3

หลักสูตร ICT Chalk-Free Approach

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w ส่งเสริมการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้สู่สากล

o True Click Life

o ICT Academic Affairs

-             ICT Curriculum & Instruction หลักสูตรและ     การสอน

-             ICT Integration บูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

o ICT Action Team

o Patai Triple I Model

 

 1.  เพื่อส่งเสริมให้ครู ผู้เรียนใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ สร้างองค์ความรู้และเผยแพร่การเรียนรู้ได้อย่างยั่งยืน

 2.  ครูสร้างแผนและนำไปใช้อย่างเหมาะสมกับสมรรถนะของผู้เรียนรายบุคคล

 3.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาการใช้เทคโนโลยี

 4.  เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ นำกระบวนการเรียนรู้แบบ Patai Triple I Model ไปใช้

 5.  ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้จากการสืบค้นข้อมูลเชิงวิเคราะห์พร้อมสร้างผลงานในรูป ICT ได้

 

 1.  ครูและผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 100 สามารถใช้คอมพิวเตอร์เพื่อประโยชน์ต่อการเรียนรู้

 3.  ผู้เรียนร้อยละ 95 บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรเทคโนโลยีและการสื่อสาร

 4.  ผู้เรียนร้อยละ 95 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ ICT ในการจัดการการทำงาน

 5.  ทุกกลุ่มสาระฯ ร้อยละ 100 มีแผนฯ Patai Triple I Model  ผู้เรียนสามารถสร้างผลงานในรูป ICT ได้ประมาณร้อยละ 95

 6.  ผลงานผู้เรียนจากการเรียนมีคุณภาพ   เผยแพร่ได้

 

 

 

 

 

 

 

 

30,000

 

ส่วนการศึกษา

อนุบาลและ

ส่วนงานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี

 

 

 

 

 

w พัฒนาการเรียนรู้ด้วยสื่อสร้างสรรค์ E-Learning

o Think Quest  (Oracle)

o โครงการโรงเรียนต้นแบบ LMS (Learning Management System)

o พัฒนาฐานข้อมูลสื่อการสอนแบบ E-Learning

 

 1.  เพื่อสร้างฐานข้อมูลสื่อการเรียนรู้ด้วยระบบ  E-Learning

 2.  ครูและผู้เรียนใช้     Think Quest เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

 3.  ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้ผ่านระบบ LMS

 4.  ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการเรียนรู้และระบบ LMS เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

1.  ครูและนักเรียนมากกว่าร้อยละ 90 ได้รับประโยชน์จากฐานข้อมูลสื่อ E-Learning

2.  ครูร้อยละ 95 และนักเรียนร้อยละ 95ได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้ ระบบ Think Quest

3.  ผู้เรียนร้อยละ 95 ได้เรียนรู้ผ่านระบบ LMS

4.  ครูปรับวิธีการเรียนวิธีการสอน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในรูปแบบ e-Learning พัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นโรงเรียนต้นแบบยุคใหม่ก้าวไกลกับ LMS School

20,000

ส่วนงาน

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี

และ

ทุกส่วนการศึกษาของการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กลยุทธ์หลักที่ 5  การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

จัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงานตามแบบไผทอุดมศึกษา  (Project Approach in Patai’s Style)

 

w งานพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานฯ   

 

 

 

 

 

 

 

 

1.    เพื่อติดตามการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานตามแบบไผทอุดมศึกษาที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะการทำงานและการอยู่ร่วมกันในสังคมของผู้เรียน

 

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีการพัฒนาตนและมีทักษะการทำงานและทักษะทางสังคมในระดับดี

 

12,000

 

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

 

 

 

 

 

w งานติดตามผลการพัฒนาผู้เรียนในด้านกระบวนการคิดและกระบวนการ ทำงานของผู้เรียนจากนวัตกรรมฯ

1.    เพื่อติดตามผลการพัฒนาของผู้เรียนด้านกระบวนการคิดและกระบวนการทำงานหลังการใช้นวัตกรรมฯ

1.    ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการพัฒนากระบวนการคิดและการทำงานอยู่ในระดับดี

12,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาเครื่องมือและเกณฑ์การวัดที่สามารถวัดกระบวนการคิดและกระบวนการทำงานของผู้เรียน

1.    เพื่อสร้างและพัฒนาเครื่องมือและเกณฑ์ในการวัดกระบวนการคิดและกระบวนการทำงานของผู้เรียน

1.    พัฒนาเครื่องมือวัดผลได้ร้อยละ 100 ตามเป้าหมายของนวัตกรรม

 

12,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.    ความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือวัดกระบวนการคิดของผู้เรียนและการติดตามผลนำผลมาปรับปรุง

 

2.    ครูผู้สอนร้อยละ 100 สามารถเลือกใช้เครื่องมือพร้อมกำหนดเกณฑ์การวัดความสามารถของผู้เรียนและติดตามผลเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไข

 

 

 

 

 

 

 

 

w งานวิจัยกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานตามแบบ         ไผทอุดมศึกษาในหลักสูตรบูรณาการ

1.    เพื่อศึกษาผลการใช้นวัตกรรมกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงานที่เกิดกับผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง ในเชิงสถิติวิจัย

1.    รายงานผลการวิจัยในเชิงสถิติ

2.    การเผยแพร่ผลการวิจัย

10,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

w งานส่งเสริมการอ่านคิดวิเคราะห์ ในกระบวนการเรียนรู้ Project Approach in Patai’s Style

 

1.    เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมการอ่าน คิดวิเคราะห์ ในกระบวนการเรียนรู้ Project Approach in Patai’s Style

1. ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการพัฒนาการอ่านคิด วิเคราะห์ สูงกว่า     ปีการศึกษาที่ผ่านมา

6,000

ส่วนการศึกษาประถมศึกษา

 

 

2.    ความสามารถในการจัดกิจกรรมการอ่านคิดวิเคราะห์ของครู

2.  ครูผู้สอนร้อยละ 90สามารถจัดกิจกรรมการอ่านคิดวิเคราะห์ในกระบวนการเรียนรู้ Project  Apparoch in Patai’s Style

 

 

มาตรการที่ 2

จัดกระบวนการเรียนรู้ แบบซักค้านบนฐานความพอเพียง

(The Jurisprudential Model on Sufficiency Economy Path)

 

 

 

 

 

 

 

w งานวิจัยและทดลองกระบวนการเรียนรู้แบบซักค้าน ยอมความตามเหตุผล

 

1.    เพื่อทดลองและศึกษาการนำกระบวนการเรียนรู้แบบซักค้านฯ ไปใช้ในระดับประถมศึกษา เพื่อพัฒนาความคิดเป็นระบบสูงขึ้น

2.    ศึกษาผลการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบซักค้าน ในการพัฒนาทักษะความคิดของผู้เรียนให้คิดอย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ เข้าใจตนเองและแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

1.    ผลการพัฒนาของผู้เรียนด้านความคิดเชิงระบบ

2.    ผลการพัฒนาความใฝ่เรียนรู้

3.    ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 มากกว่าร้อยละ 80 พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาและแสวงหาคำตอบด้วยตนเอง

12,000

ส่วนการศึกษา

มัธยมศึกษา

มาตรการที่ 3

จัดกระบวนการเรียนรู้

แบบไผทฯ ไตรบท

(Patai Triple I Model)

 

 

 

 

 

w งานส่งเสริม พัฒนาผลงานผู้เรียน จากการเรียนรู้แบบ Patai Triple I ให้สร้างสรรค์ หลากหลายและนำความรู้เทคโนโลยี และสาระวิชามาสร้างสรรค์งาน

 

1.    เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการสร้างสรรค์อย่างเต็มศักยภาพ

 

 

1.    ผลงานผู้เรียนหลากหลายและแสดงออกถึงความสามารถได้อย่างสร้างสรรค์และเผยแพร่ต่อสาธารณะชนได้

 

 20,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

2.    ผู้เรียนทุกระดับชั้น     มีผลงานจากการเรียนรู้แบบ Patai Triple I

2.    ผู้เรียนร้อยละ 90 มีผลงานจากการเรียนรู้แบบ  Patai Triple I

 

 

 

 

 

 

 

w กิจกรรมการเรียนรู้ World Wide by Active Board

1.     เพื่อส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ Active Board เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้

1.    แผนการสอนเชื่อมโยงการนำ Active Board ไปใช้ได้อย่างมีคุณภาพ

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

w งานวิจัยกระบวนการเรียนรู้แบบ Patai Triple I

1.    เพื่อศึกษาผลการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Patai Triple I ที่เกิดกับผู้เรียน ครู

1.    ผลการพัฒนาของผู้เรียนด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสร้างสรรค์ มีคุณภาพมากกว่าร้อยละ 90

2.    ผลการวิจัยพัฒนาสามารถเผยแพร่ได้

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

มาตรการที่ 4

จัดกระบวนการเรียนรู้ไผทฯจตุบท

 

 

w งานวิจัยกระบวนการเรียนรู้แบบไผทฯจตุบท

 

 

 1.  เพื่อศึกษาผลการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบไผทฯ จตุบท

 

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์สูงกว่าเดิมร้อยละ 5

 

 5,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาแผนการเรียนการสอนแบบไผทฯจตุบท

ทุกระดับชั้น

 1.  เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ พัฒนากิจกรรมในแผนการสอนแบบไผทฯ จตุบทให้เหมาะสมกับวัยและสาระการเรียนรู้

 2.  ครูผู้สอนได้รับข้อมูลการจัดทำแผนการจัดการสอนและการใช้เครื่องมือวัดผลได้ตรงตามสภาพจริงและสอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียน

 1.  ทุกกลุ่มสาระฯ ร้อยละ 100 พัฒนาแผนฯ การสอนได้ตามแนวทางการพัฒนา

 2.  ร้อยละ 100 ของครูได้รับข้อมูลกระบวนการสอนแบบไผทฯจตุบทและนำมาจัดการเรียนการสอน/จัดกิจกรรมและประเมินหลังการสอนแล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข

 

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาเครื่องมือวัดผลให้ตรงตามสภาพจริงและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

 1.  เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ พัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลให้มีคุณภาพ วัดผู้เรียนได้ตามสภาพจริง

 1.  คุณภาพเครื่องมือมีความเที่ยงตรง         ค่าอำนาจจำแนกอยู่ในระดับค่ายอมรับได้

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

w งานกำกับ ติดตาม การใช้ไผทฯจตุบทโดยการนิเทศการสอน

 

 1.  เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ และฝ่ายวิชาการ กำกับติดตามครูเกี่ยวกับการนำแผนฯ ไผทฯ จตุบท ไปใช้กับบทเรียน

 

 1.  ครูร้อยละ 90 มีผลการนิเทศในระดับดี-ดีมาก

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

กลยุทธ์หลักที่ 6      การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

พัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายใน

 

w โครงการเรียนรู้รอบรั้วโรงเรียน

o พัฒนาแผนการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในที่สอดคล้องกับเนื้อหา 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

 

 

 

 

 

 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

 2.  ครูและผู้เรียนสามารถเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชา

 3.  เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ พัฒนาแผนฯ ให้มีกิจกรรมที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้

 

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 พึงพอใจต่อการเข้าใช้แหล่งเรียนรู้ และได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้

 2.  ครูและผู้เรียนร้อยละ 90 สามารถเลือกใช้แหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหา

 3.  ทุกกลุ่มสาระฯ ร้อยละ 100 มีแผนและกิจกรรมการเข้าใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

 

20,000

 

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

 

 

w งานประกันคุณภาพ แหล่งเรียนรู้และศูนย์การเรียนรู้  

 

 1.  ทุกศูนย์การเรียนรู้มีระบบกำกับติดตามพัฒนาศูนย์

 1.  ผลของผู้ใช้ร้อยละ 90 พึงพอใจต่อการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้

10,000

ฝ่ายอาคารสถานที่

และส่วนการศึกษา

 

 

 

 

w โครงการหอสมุดดุจปัญญาพาก้าวไกล

 1.  ผู้ใช้บริการรู้จักคุณค่าของหนังสือ รักการอ่าน และสามารถค้นคว้าด้วยตนเองใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เพื่อ

 1.  สถิติของผู้เข้าใช้ตลอดปีมีมากกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนทั้งหมด

 

 

35,000

ฝ่ายสนับสนุน

งานหอสมุด

 

 

 

เตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในสังคมปัจจุบัน

ผู้ใช้บริการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามระเบียบและกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง

 

 

 

-               กิจกรรมแลกกันอ่านสานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการถนอมรักษาหนังสือรักการอ่านและรู้จักคุณค่าของหนังสือแต่ละเล่มมีส่วนร่วมในกิจกรรมกับหอสมุด

 2.  ผู้เรียนรู้จักการเก็บรักษาหนังสือ และนำมาเข้าร่วมกิจกรรมดี

  ร้อยละ 80

 

 

 

 

 

-               กิจกรรมปันความรู้สู่การอ่าน

 3.  ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่าน และสามารถจูงใจให้ผู้เรียนเข้าใช้บริการ

 

 3.  ผู้เรียนสามารถสรุปเนื้อหาที่อ่านได้และแนะนำหนังสือให้ผู้อื่นทราบ ร้อยละ 82.5

 

 

 

 

 

 

 

 

-               กิจกรรมการเล่านิทาน

 4.  เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการฟังที่ดี เข้าร่วมกิจกรรมกับหอสมุดได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินและกล้าแสดงออก

 4.  ผู้เรียนกล้าแสดงเสริมสร้างจินตนาการให้กับตนเอง สามารถนำคติสอนใจมาประยุกต์ใช้กับตนเองได้ดี

ร้อยละ 79.2

 

 

 

 

 

 

-               กิจกรรมสัปดาห์หอสมุด

 5.  ผู้เรียนและผู้ใช้บริการได้รับความรู้ รู้จักคุณค่าหนังสือได้รับรางวัลดีเด่น มีส่วนร่วมใน

 5.  ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม และได้รับความรู้เป็นอย่างดี   ร้อยละ 90

 

 

 

 

กิจกรรมและได้รับความสนุกสนานใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

 

 

 

 

 

 

 

 

-               กิจกรรมไขปัญหาจากสารานุกรมไทย  

 6.  เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ให้เป็นปัจจุบัน รักการอ่าน มีส่วนร่วมในกิจกรรมรู้จักใช้หนังสือสารานุกรม เพื่อการค้นคว้า

 6.  ผู้เรียนได้รับความรู้กว้างขวางมากขึ้น และสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในบทเรียน  ได้ดี ร้อยละ 89.6

 

 

มาตรการที่ 2

เชื่อมโยงการเรียนรู้สู่แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

w โครงการเปิดโลกกว้างทางปัญญา

o พัฒนาฐานข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น

o ส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน

o ประเมินสถิติการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก

 

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 ได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ ณ แหล่งเรียนรู้ภายนอก

 

30,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

 

 2.  ผู้เรียนเกิดทักษะประสบการณ์ในการเรียนรู้ด้านวิชาการเพิ่มเติมจากการศึกษาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยปรากฏรายงานจากการเรียนรู้ในวิชาสังคมศึกษา ภาษาไทย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อสร้างระบบฐานข้อมูลของแหล่งเรียนรู้ภายนอก รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ของทุกกลุ่ม สาระฯ

 3.  มีระบบฐานข้อมูลของแหล่งเรียนรู้ภายนอก รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ของทุกกลุ่ม สาระฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 4.  เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ได้ ของแหล่งเรียนรู้ภายนอก รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ของทุกกลุ่ม สาระฯ

 4.  ส่งเสริมให้ทุกกลุ่ม  สาระฯ ได้ใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอก รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ของทุกกลุ่ม สาระฯ

 

 

 

 

 5.  เพื่อทราบข้อมูลด้านสถิติเกี่ยวกับการเข้าใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น

 5.  ค่าสถิติเกี่ยวกับการเข้าใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 90 ของทุกกลุ่มสาระฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์ที่  2  การส่งเสริมและพัฒนาความฉลาดทาง จริยธรรม ศีลธรรม (MQ: Moral Quotient) และอารมณ์ (EQ: Emotional Quotient)

กลยุทธ์หลักที่ 1    การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นไทย

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

ส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม

 

 

 

 

 

·     เสริมสร้างลักษณะนิสัยรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และภูมิใจในความเป็นไทย

w โครงการไผทอุดมศึกษา แทนคุณแผ่นดินไทย

o กิจกรรมเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์

-               วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ

-               กิจกรรมวันพ่อ, วันแม่

-               กิจกรรมวันไหว้ครู

-               กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา

1.    เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และคุณธรรมความกตัญญู ได้ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์

1.    ผู้เรียนร้อยละ 90 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และคุณธรรมความกตัญญู ได้ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์

5,000

ฝ่ายสัมพันธ์ชุมชน/

ประชาสัมพันธ์/

กิจการนักเรียนและคณะกรรมการจากทุกทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

2.    เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และคุณธรรมความกตัญญู ได้ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.    ผู้เรียนร้อยละ 90 มีผลการประเมินคุณธรรม 8 ประการ ในระดับ

ดี-ดีมาก

 

 

 

 

 

 

 

 

w งานสร้างจิตสำนึกความเป็นพลเมืองและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย

o พัฒนาแผนคุณธรรมในทุกกลุ่มสาระฯ

1.    เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามความเป็นพลเมืองดี

1.    ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีคุณลักษณะรักชาติ รักความเป็นไทย มีวินัย อยู่อย่างพอเพียง อยู่ในระดับดี-ดีมาก

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.    เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ ได้พัฒนาแผนฯ/สื่อ ที่ปลูกฝังคุณธรรมให้กับผู้เรียน

2.    แผนการสอนร้อยละ 90 มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม

3.    ผู้เรียนความสามารถพิเศษร้อยละ 100 ได้รับการส่งเสริมพัฒนาด้วยแผนการจัดการเรียนการสอนของทุกสาขาวิชา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย  

1.    พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความคิดและประสบการณ์เรื่องประชาธิปไตย

2.    ผู้เรียนมีทักษะ ความชำนาญ ประสบการณ์ในการปฏิบัติตามกฎ กติกาและสิทธิ

1.    ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 95 ใช้สิทธิในการเลือกตั้งสภาผู้เรียน

2.    คณะกรรมการสภาผู้เรียนบริหารงานกิจกรรมตามโครงการของคณะกรรมการบรรลุผลสำเร็จ มีระดับคุณภาพมากกว่า     ร้อยละ 80

5,000

กลุ่มสาระฯ

สังคมศึกษาและส่วนการศึกษามัธยมศึกษา

 

 

 

w โครงการไผทฯรักชาติ

 

 1.  เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ตามความเป็นพลเมืองดี

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีคุณลักษณะรักชาติ รักความเป็นไทย มีวินัย อยู่อย่างพอเพียง อยู่ในระดับดี-ดีมาก

18,000

กิจการนักเรียน

และคณะกรรมการระดับชั้น

 

o กิจกรรม กล้วยไม้ในแจกัน

o กิจกรรม ผ้าขาวม้าคุณปู่

o กิจกรรม ลมเย็นเล่นว่าว

 2.  ครูสามารถสร้างแผนการจัดประสบการณ์ เน้นความรักและภาคภูมิใจในชาติ

 2.  ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสนุกกับการเรียนรู้ ร้อยละ 100

3,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

 

 

o กิจกรรม สูตรรัก สูตรลับครอบครัวของฉัน (วัฒนธรรม   ครอบครัว)

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนรักและภูมิใจในคนไทย ที่มีวัฒนธรรมครอบครัวที่อบอุ่น

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ภูมิใจในความเป็นคนไทย และวัฒนธรรมครอบครัวแบบไทย

 

2,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

ปีที่ 1

 

 

 

 

o กิจกรรม นี่แหละ...ประเทศไทย (สัญลักษณ์ของไทย)

 4.  เพื่อให้ผู้เรียนรักความเป็นไทย ภูมิใจในเอกลักษณ์ชาติ

 4.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ภูมิใจในเอกลักษณ์ชาติ

20,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

ปีที่ 2

 

 

 

 

o กิจกรรม อมตะเพลงไทย

 5.  เพื่อให้ผู้เรียนรักความเป็นไทย ภูมิใจในเอกลักษณ์ชาติ

 5.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ภูมิใจในเอกลักษณ์ชาติด้านศิลปะและดนตรี

2,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

ปีที่ 3

 

 

 

o กิจกรรม คนไทยแท้ๆ (สัญลักษณ์ของไทย)

 6.  เพื่อให้ผู้เรียนรักความเป็นไทย ภูมิใจในเอกลักษณ์ชาติ

 6.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ภูมิใจในเอกลักษณ์-ของความเป็นไทย

2,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

ปีที่ 4

 

 

 

 

o กิจกรรม พ่อของแผ่นดิน

 7.  เพื่อให้ผู้เรียนรักความเป็นไทย ภูมิใจในชาติและสถาบันพระมหากษัตริย์

 7.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ภูมิใจในชาติและสถาบันพระมหากษัตริย์

2,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

ปีที่ 5

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

o กิจกรรม ตามล่าสถานที่  (สิ่งปลูกสร้าง/สถาปัตยกรรม   ชุมชน)

 

 8.  เพื่อให้ผู้เรียนรักความเป็นไทย ภูมิใจในเอกลักษณ์ด้านสถาปัตยกรรมของชาติ

 8.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ภูมิใจในเอกลักษณ์ด้านสถาปัตยกรรมของชาติ

2,000

ส่วนการศึกษา

ประถมศึกษา

ปีที่ 6

 

 

 

 

 

o กิจกรรม ภูมิใจถิ่นไทยท่องวัฒนธรรม

 

 9.  สร้างจิตสำนึกความเป็นไทย ภูมิใจในวัฒนธรรมและวิถีไทย

 9.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ทำบันทึกการเดินทางเล่าเรื่องครอบครัวกับสถานที่ในประเทศไทย

3,000

ส่วนการศึกษา

 มัธยมศึกษา

·     จัดกิจกรรมไผทฯ ใฝ่คุณธรรม ที่เน้นไตรสิกขา ศีล สมาธิ ปัญญา

 

 

 

w งานพัฒนาแผนงานศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม  ในสถานศึกษา

 1.  เพื่อให้ทุกส่วนการศึกษาได้นำนโยบายการพัฒนาศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ไปใช้ในการเรียนการสอนกิจกรรมและบุคลากร

 1.  แผนงานของทุกหน่วยงานมีการกำหนดกิจกรรมการพัฒนาคุณธรรม

1,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

w งานพัฒนาแผน/สื่อการสอนที่ส่งเสริมการปลูกฝังคุณธรรม

 1.  เพื่อให้ทุกกลุ่มสาระฯ ได้พัฒนาแผนฯ/สื่อ ที่ปลูกฝังคุณธรรมให้กับผู้เรียน

 1.  แผนการสอนร้อยละ 90 มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

w โครงการต้นกล้าคุณธรรม 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมคุณธรรม 8 ประการ

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีผลการประเมินคุณธรรม 8 ประการ ในระดับ       ดี-ดีมาก

6,000

กิจการนักเรียน

และคณะกรรมการระดับชั้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการเด็กดี ศรีไผทฯ

o ระเบียบดี วินัยเด่น

 

 1.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดี

6,000

กิจการนักเรียน

และคณะกรรมการระดับชั้น

 

 

 

 

 2.  เพื่อพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเคารพกติกาสังคม

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 รักษาระเบียบ กติกาการอยู่ร่วมกันในสังคม

 

 

 

 

 

 

w กิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิต

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะการดำเนินชีวิตที่ดี มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีทักษะการดำเนินชีวิตเหมาะสม

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร

5,000

กิจการนักเรียน

และคณะกรรมการระดับชั้น

 

 

 

 

 

w โครงการเด็กดี V-Star

 1.  ผู้ปกครองและโรงเรียนร่วมมือกันส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดีของสังคมสู่พลโลก

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 80 พัฒนาตนเป็นแบบอย่างที่ดีและประพฤติตนเป็นพลเมืองดี

1,500

ส่วนการศึกษามัธยมศึกษา

 

 

 

 

w โครงการตามรอยพ่อของแผ่นดิน พออยู่พอกินและพอเพียง  

o ค่ายเรียนรู้คุณธรรมนำชีวิตพอเพียง

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง

50,000

ส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w กิจกรรมดอกไม้ให้คุณ

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านความรับผิดชอบ มีจิตเอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ

3,000

กิจการนักเรียนและคณะกรรมการระดับชั้น

 

 

 

w โครงการหนึ่งห้องเรียน หนึ่งโครงการ สร้างความดี         (จิตอาสา)

 1.  เพื่อปลูกฝังผู้เรียนให้เป็นผู้มีจิตสาธารณะ ปฏิบัติตนดูแลช่วยเหลือส่วนรวมตามกำลังความสามารถ

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 เป็น ผู้มีจิตสาธารณะ ช่วยเหลือสังคมได้ตามความสามารถตน

6,000

ส่วนการศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

 

 

 2.  มีผลจากการร่วมมือกันจัดกิจกรรมเพื่อสาธารณะชุมชนและเสียสละเพื่อส่วนรวม

 2.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100   มีจิตเสียสละเพื่อส่วนรวมแสดงออกถึงการมีน้ำใจ การช่วยเหลือผู้อื่น

 

 

 

 

 

 

w โครงการ Public Mind: หัวใจคุณธรรม

 

 3.  ครูสามารถจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนรู้จักบำเพ็ญประโยชน์และมีจิตเป็นสาธารณะ

 3.  ผู้เรียนร้อยละ 100 สามารถปฏิบัติตนตามกติกาได้

1,000

ส่วนการศึกษาอนุบาล

 

 

 

w โครงการเด็กดี ศรีไผท

o กิจกรรมผู้พิทักษ์รักษ์สะอาด (จิตอาสา)

 1.  เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีคุณสมบัติเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

5,000

กิจการนักเรียน

และคณะกรรมการระดับชั้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ร่วมมือกันรักษาสาธารณะสมบัติ

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 90 รับผิดชอบต่อหน้าที่ในการดูแลรักษาความสะอาดทั่วไป และในส่วนที่รับผิดชอบ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการไผทอุดมศึกษาสร้างสรรค์สังคม (จิตอาสา)

o กิจกรรมอาสาจราจร

o กิจกรรมพี่สอนน้อง

o กิจกรรมรวมพลคนรักหนังสือ

o Charity Project (จิตอาสา) (IP/ILP/ICP)

 1.  ผู้เรียนร่วมกิจกรรมพัฒนาโรงเรียนและชุมชนจนมีผลงานปรากฏ

 2.  ผู้เรียนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการจราจรในโรงเรียนโดยบริการดูแลความปลอดภัยและความสะดวกในการรับส่งผู้เรียน

 1.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 ร่วมกิจกรรมนำเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมและเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสถานศึกษาและท้องถิ่น

 2.   ผู้เรียนร้อยละ 90      ที่เข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและเสียสละ

1,000

 

-ส่วนการศึกษา

 มัธยมศึกษา

 

 

-ส่วนการศึกษา

 ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 3.  ผู้เรียนแสดงออกในความมีน้ำใจ ช่วยเหลือน้องอนุบาล โดยดำเนินกิจกรรมอาสาพาน้องอ่าน เล่น และเล่านิทาน

 4.  ผู้เรียนปฏิบัติหน้าทีบรรณารักษ์รุ่นเยาว์ ในการมีส่วนร่วมในการดูแลห้องสมุด

 3.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ที่เข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติหน้าที่ด้วยความพึงพอใจอย่างสม่ำเสมอ

 4.  ผู้เรียนร้อยละ 90 ที่เข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติหน้าที่ในฐานะบรรณารักษ์รุ่นเยาว์ได้อย่างมีความรับผิดชอบ

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการแลกปัญญา ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

 1.  ผู้เรียนมีความเสียสละแบ่งปันและทำประโยชน์เพื่อสังคม

 1.  ผู้เรียนระดับประถมมากกว่าร้อยละ 80 ร่วมบริจาคหนังสือและสิ่งของ

 2.  ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาร้อยละ 100 บริจาคหนังสือและสิ่งของเพื่อจัดจำหน่ายและนำเงิน

 3.  ผู้เรียนที่ร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90 มีจิตสาธารณะด้านความเสียสละและแบ่งปัน

3,000

ส่วนการศึกษา

มัธยมศึกษา

และคณะกรรมการ

ประถมศึกษา

 

 

 

w โครงการ Family Project

 1.  เพื่อสร้างความรัก ความอบอุ่นของสถาบันครอบครัว

 1.  ผู้ปกครองและผู้เรียน มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ที่ดี      ร้อยละ 100

2,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

w โครงการรณรงค์ป้องกันปัญหาสิ่งเสพติด

o กิจกรรมรู้จักการเลือกบริโภค  

o กิจกรรมรณรงค์ป้องกันปัญหาสิ่งเสพติด 

o กิจกรรมเวลาว่างวันสบายๆ  

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข และภัยความรุนแรง   ต่าง ๆ

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 100 ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข และมีทักษะปฏิเสธได้ดี

5,000

-ส่วนการศึกษา

อนุบาล

-กลุ่มสาระฯสังคมศึกษาฯและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติตนปลอดภัย ห่างไกลสิ่งเสพติด

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 100 เป็นผู้ปลอดภัย ห่างไกลจากสิ่งเสพติด

 

 

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการมีของสะสม

 

 

 

 

 

 

w โครงการ Patai Channel

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้ เทคโนโลยีกับความสามารถในการกล้าแสดงออกสร้างเป็นผลงาน

 1.  ผู้เรียนที่มีความสามารถทางเทคโนโลยีและการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารเข้าร่วมโครงการและสร้างผลงานเป็นหนังสือหรือ Clip VDO ที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม

5,000

ศูนย์ ICT

For Learning

มาตรการที่ 2   

ส่งเสริมและพัฒนาสุนทรียภาพสู่อัจฉริยภาพ

 

 

 

 

 

·   ส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี

 

w โครงการ Therapeutic Media  เพื่อพัฒนาสมอง

 

 1.  ผู้เรียนระดับชั้น ป.1-3 ที่มีภาวะสมาธิสั้นหรือมีความเสี่ยง

 2.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านสมาธิ ด้านอารมณ์ และด้านการอยู่ร่วมกับผู้อื่น

 1.  ผู้เรียนที่เข้าร่วมได้รับการส่งเสริมเต็มศักยภาพ

5,000

-Exploring

-ศูนย์จิตวิทยาฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w กิจกรรมยุวศิลป์   

 1.  ผู้เรียนสนุกกับการทำงานศิลปะ

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีความสนใจที่จะสร้างผลงานศิลปะ

1,000

ส่วนการศึกษา

อนุบาล

 

 

 

 

w โครงการมุ่งสู่ฝันสร้างสรรค์ศิลปิน

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนเชื่อมโยงศาสตร์งานศิลป์สู่ชีวิตประจำวันและได้รับส่งเสริมเต็มศักยภาพ

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เข้าร่วมกิจกรรมทางศิลปะ เข้าร่วมงานศิลปะ และได้รับการส่งเสริมเต็มศักยภาพ

5,000

ส่วนการศึกษาประถมศึกษา

(สามัญ)

 

 

 

 

w โครงการรวมพลังพัฒนา ศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษด้านศิลปะและนาฏศิลป์ดนตรี ตามงานวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 1.  จำนวนผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านศิลปะ ดนตรี

 2.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความสามารถเฉพาะด้านตามความถนัดและมีวิธีการแสดงออกร่วมกับกลุ่มตามความสามารถ

 1.  ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษทางศิลปะและดนตรีเป็นตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมจำนวนตามที่ผู้จัดกำหนดมาให้

5,000

ส่วนการศึกษาความสามารถพิเศษ

 

 

 

 

 

w โครงการ Wednesday Club

 

 1.  ผู้เรียนร้อยละ 90 มีการพัฒนาด้านการใช้ภาษาและการเข้าสังคม

 2.  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทางด้านอารมณ์ จิตใจ สติปัญญา

 1.  ผู้เรียนกล้าแสดงออกในสิ่งที่ตนเองสนใจ

 2.  ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรมและแลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อน

1,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

 

 

 

 

 3.  ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

 

 

 

 

 

w กิจกรรม Art and Music Save the Earth      

 1.  ผู้เรียนมีทักษะเชิงสร้างสรรค์ด้านศิลปะดนตรี รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 80 พัฒนาศักยภาพตนเองด้านศิลปะดนตรี

3,000

ส่วนการศึกษา

มัธยมศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

กลยุทธ์หลักที่ 2  การส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพกาย

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

ส่งเสริมสุขภาพร่างกาย ให้แข็งแรงสมบูรณ์ 

 

 

 

 

 

·   ส่งเสริมโภชนาการที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและสมอง

 

 

 

w โครงการ ฉลาดบริโภค ต้านโรค พัฒนาสมอง

o กิจกรรมอาหารดีมีประโยชน์

o กิจกรรมน้ำนม เพื่อสุขภาพ

 

 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนรู้ถึงประโยชน์ของการรับประทานอาหารครบ 5 หมู่ เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

5,000

กิจการนักเรียน

และคณะกรรมการ

ระดับชั้น

 

 

 

 

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนรู้ประโยชน์ของการดื่มนมเพื่อประโยชน์ต่อร่างกาย

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ดื่มนมเพื่อสุขภาพ

 

 

·   พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มีสุขภาพกายที่ดีและสมรรถภาพทางกายได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

w โครงการเด็กไผทฯ สดใสแข็งแรง

o กิจกรรมโยกเยกเอย น้ำท่วมเมฆ (ออกกำลังกายตอนเช้า)

o กิจกรรมเด็กไผทฯ ปลอดภัยจากโรคอ้วน

o กิจกรรมกีฬาสีไผทฯ จิตใจแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง

  (Patai Sport Tournament, กีฬาช่วงพักกลางวัน,กีฬาสี)

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและการมีสุขภาพและสมรรถภาพตามเกณฑ์

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีสุขภาพภายและสมรรถภาพทางกายได้ตามเกณฑ์

50,000

ทุกส่วนการศึกษาและกลุ่มสาระฯ

พลศึกษา

 

 

 

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนรักการออกกำลังกาย

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 95 มีสุขภาพ แข็งแรง สมบูรณ์ ตามวัย

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพกายและน้ำหนัก ส่วนสูงได้ตามเกณฑ์

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 มีน้ำหนัก ส่วนสูงสมวัยได้ตามเกณฑ์

 

 

 

 

 

 

 

 4.  เพื่อให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของการมีสุขภาพกายแข็งแรง

 4.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และใช้เวลาว่างในการออกกำลังกาย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w งานตรวจสุขภาพอนามัย

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการดูแล รักษาสุขภาพอนามัยอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอมีสุขภาพอนามัยที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ

 1.  ผู้เรียนมีสุขภาพ   อนามัยดี ร้อยละ 99

170,000

งานพยาบาล

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางกีฬา

o กิจกรรมแข่งขันกีฬาภายนอก (กอล์ฟ, ฟุตบอล, ว่ายน้ำ, เทนนิส ฯลฯ)

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมกีฬาเต็มศักยภาพ

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพกายแข็งแรงตามวัย

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 ชื่นชอบกีฬา เข้าร่วมกีฬา และได้รับการส่งเสริมตามศักยภาพ

 2.  ผู้เรียนร้อยละ 90 ออกกำลังกายและมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย

10,000

กลุ่มสาระฯ

พลศึกษา

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมในกีฬาที่ตนถนัด

 3.  ผู้เรียนร้อยละ 90 แสดงศักยภาพด้านกีฬาตามที่ตนถนัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์ที่ 3   การพัฒนาคุณภาพบุคลากรยุคใหม่

 

กลยุทธ์หลักที่ 1      การพัฒนาสมรรถนะครูและผู้บริหาร

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

ส่งเสริมด้านปัญญา

 

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 1.1

ส่งเสริมให้บุคลากรเป็นผู้ใฝ่รู้

 

 

 

 

 

·    พัฒนาตนเองที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพอย่างสม่ำเสมอ

 

 

w โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากร

o   การอบรมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

o   การส่งเสริมศักยภาพบุคลากร (ประชุมวันเสาร์)

o   การศึกษาดูงานภายในและภายนอกประเทศ

 1.  ร้อยละ 100 ของบุคลากรได้รับการพัฒนาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครบตามที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด

 2.  ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาผ่านการนิเทศในระดับ 3-4 และปฏิบัติการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

 1.  บุคลากรร้อยละ 100ได้รับความรู้ใหม่ๆ และเปิดโลกทัศน์จากการอบรมภายในและภายนอก

 2.  บุคลากรมากกว่าร้อยละ 80 มีผลการนิเทศในระดับ 3-4 (ดี-ดีมาก)

 3.  บุคลากรมีความเข้าใจต่อแนวทางการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของโรงเรียน

 4.  บุคลากรร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาตนเองในหลายๆ ด้านที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ

8,500

 

 

 

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการยกระดับสมรรถนะครู  การทดสอบภาคความรู้ตามสาขาวิชาที่สอน 1 ครั้งต่อปีการศึกษา

 1.  ร้อยละ 100 ของผู้บริหารและครูได้รับการทดสอบสมรรถนะตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอน

 2.  ร้อยละของผู้บริหารและครูผ่านการทดสอบ โดยมีผลตั้งแต่ดี-ดีมาก

 1.  บุคลากรร้อยละ 90 ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ

 2.  บุคลากรมากกว่าร้อยละ 80 ของผู้บริหารและครูมีผลการทดสอบในระดับดี-ดีมาก

 3.  บุคลากรมีความกระตือรือร้นในการศึกษา,ทบทวนความรู้ และนำผลการทดสอบไปพัฒนา   ตนเองต่อ

 4.  โรงเรียนทราบความรู้ความสามารถของบุคลากรรายบุคคล นำไปพัฒนารูปแบบโครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมคุณภาพบุคลากรได้

2,000

ฝ่ายบุคลากร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการ DEAR ครู

o  อ่าน Magazine เดือนละครั้งแล้วสรุปเล่าสู่กันฟัง / ซ่อมแซมลายมือครู / หนังสือปีละเล่มของครู

 

 1.  ร้อยละ 100 ของบุคลากรปฏิบัติตามโครงการครบถ้วนตลอดปีการศึกษา

 2.  ร้อยละของครูเข้าศึกษาเพิ่มเติมในหอสมุดฯ เพิ่มขึ้น

 3.  ร้อยละ 90 ของบุคลากรคัดเลือกเรื่องที่อ่านที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพและการปฏิบัติงาน

 

 1.  บุคลากรร้อยละ 90  เกิดนิสัยรักการอ่านและพัฒนาความรู้ของตนเอง

 2.  บุคลากรได้แบ่งปันความรู้กับเพื่อนร่วมงาน

 3.  การใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนมากขึ้น

 

4,500

 

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

·   พัฒนาสื่อการประกอบการเรียนการสอนให้ทันสมัย และใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

w โครงการครูดีมีสื่อ

o   ผลิตสื่อพร้อมคู่มือ

o   การประกวดสื่อ

 

 1.  ร้อยละ 100 ของครูมีส่วนร่วมในการผลิตสื่อและคู่มือการสอน

 2.  ร้อยละ 100 ของครูนำสื่อไปใช้จริง

 3.  สื่อการสอนช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยดูจากการประเมินผลของฝ่ายวิชาการ

 1.  ครูร้อยละ 100 ผลิตสื่อประกอบการสอนและ  ครูได้นำสื่อการสอนไปใช้จริง

 2.  ครูมีแรงกระตุ้นในการผลิตสื่อที่มีคุณภาพและใช้ได้จริง

500 บาท/

1000 บาท/

รางวัล

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

·    ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา

w โครงการวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้

 

 

 

 

 

o   วิจัยการอ่านภาษาไทย อ.1-อ.2-อ.3                 (Udomluk Package)

o   วิจัยชั้นเรียน (พฤติกรรม)

o   วิจัยสื่อและกระบวนการเรียนรู้

 1.  ร้อยละ 90 ของครูทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและกระบวนการเรียนรู้

 

 1.  ครูร้อยละ 90 มีความรู้ ความสามารถในการทำวิจัยและนำผลการวิจัยไปปรับปรุงการปฏิบัติงาน

10,000

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

 

 

 2.  ร้อยละของครูทำงานวิจัยชั้นเรียน

 2.  ครูร้อยละ 90 มีผลงานการวิจัยชั้นเรียน

 

 

 

 

 3.  ผลงานวิจัยนำไปสู่การพัฒนาสื่อและกระบวนการเรียนรู้

 3.  ร้อยละ 90 ของครูมีการนำผลจากการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาสื่อ

 

 

 

 

 4.  ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถให้ความช่วยเหลือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียนอย่างเหมาะสม

 4.  ร้อยละ 90 ของบุคลากรใช้ผลงานวิจัย พัฒนาศักยภาพผู้เรียนได้เป็นรายบุคคล

 

 

มาตรการที่ 1.2

ส่งเสริมให้บุคลากรสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นการสื่อสารทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน

 

w โครงการใช้เวลาว่างกับครูต่างชาติ โดยการอบรมภาษาอังกฤษแก่ผู้บริหารและครู 100 ชั่วโมง ใน 1 ปี   

w การอบรมภาษาจีนแก่ผู้บริหาร

 

 

 

 

 

 1.  ร้อยละ 50 ของบุคลากรสามารถเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการฯ

 

               

 

 1.  บุคลากรมีความคุ้นเคยกับภาษาอังกฤษมากขึ้น และสามารถใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานและชีวิตประจำวัน

 

 

5,000

 

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

 

 

 2.  บุคลากรมีทัศนคติที่ดีขึ้นในการใช้ภาษาอังกฤษและการสื่อสารกับครูต่างชาติ      

 2.  บุคลากรมีผลการพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

 

 

มาตรการที่ 1.3

พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยี

 

w โครงการ ICT HRD

o  การพัฒนาแผนการสอน Triple I

o  อบรมด้าน ICT โดยวิทยากร จากบริษัท True

o  อบรม Active Board

o  Media Innovation : Online/Offline

o  E-Learning จัดการเรียนการสอนด้วยระบบเครือข่าย LMS และ Social Network

o  อบรมการใช้ Tablet 

 

 

 1.  ร้อยละของครูต้องได้รับการอบรมและใช้เทคโนโลยีช่วยในการเรียนการสอน

 2.  ร้อยละ 90 ของครูได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยี

 3.  ร้อยละ 100 ของครู ได้ใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและการผลิตสื่อการเรียน

 

 

 1.  ครูร้อยละ 100 ได้รับการอบรมการใช้เทคโนโลยีช่วยสอน

 2.  ครูร้อยละ 90 มีผลการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนำความรู้ที่ได้รับไปสร้างเป็นแผนการสอนและสื่อได้

 3.  ครูร้อยละ 90 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ตนเอง

 

 

10,000

 

 

-ฝ่ายบุคลากรและ

 ทุกส่วนการศึกษา

-ศูนย์ ICT for

 Learning

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 2

ส่งเสริมด้านสติ-อารมณ์ และคุณธรรมแก่บุคลากร

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 2.1

ส่งเสริมให้เป็นผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู และประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี

 

 

w โครงการครูไผทฯ ใฝ่คุณธรรม

o   กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม

o   การอบรมจิตวิทยา

o   กิจกรรมสื่อประสานใจจากไผทฯ สู่สังคม

 

 1.  ร้อยละ 100  ของบุคลากรเข้าร่วมโครงการฯ

 2.  ร้อยละ 80 ของครู มีความเข้าใจด้านจิตวิทยาเพิ่มขึ้น และนำไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน

 3.  บุคลากรมีการปฏิบัติตนที่พอเพียงและทำเพื่อส่วนรวมมากขึ้น

 

 1.  บุคลากรมีผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองให้ดียิ่งขึ้น

 2.  บุคลากรมากกว่าร้อยละ 90 นำความรู้จิตวิทยาไปปรับใช้ในวิชาชีพ

 3.  บุคลากรมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการประเมินได้ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ

 

5,000

 

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

มาตรการที่ 2.2

สนับสนุนให้มีการทำงานเป็นทีม และร่วมมือกันกันปฏิบัติงานจนประสบผลสำเร็จ

 

 

 

w โครงการพี่ช่วยน้อง ผองเพื่อนไผทฯ

o   พัฒนาการสอนแบบ Team Teaching

o   การจัด Buddy

o   จัดหน่วยงานฝ่ายสนับสนุนการศึกษาเพื่อให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือครู

 

 1.  ร้อยละ 100 ของบุคลากรใหม่ได้รับการดูแลจากบุคลากรที่มีประสบการณ์

 2.  การทำงานแบบ Team Teaching ทั้งครูไทยและครูต่างชาติ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ

 3.  ร้อยละ 80 ของบุคลากรใหม่สามารถผ่านการประเมินการทดลองงาน

 

 1.  บุคลากรใหม่ร้อยละ 100 ได้รับการดูแลใกล้ชิดและทั่วถึง

 2.  บุคลากรร้อยละ 90 มีความเข้าใจและสามารถทำงานเป็นทีม

 3.  บุคลากรมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

 

 4.  บุคลากรใหม่ร้อยละ 90 มีผลการพัฒนางานที่ดีขึ้น

 

22,000

 

ฝ่ายบุคลากรและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

กลยุทธ์หลักที่ 2      การบริหารจัดการบุคลากร

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

จัดอัตรากำลังบุคลากร

 

w จัดอัตรากำลังบุคลากรในแต่ละส่วนการศึกษา / การเชื่อมโยงกับองค์กรภายนอกในการจัดหาครูสอนในกลุ่มสาระที่       ขาดแคลน หรือกิจกรรมเสริม

 1.  ครูและบุคลากรฝ่ายสนับสนุนมีเพียงพอต่อความต้องการ

 1.  แต่ละส่วนการศึกษา/ส่วนรวมมีบุคลากรเพียงพอ

5,000

ฝ่ายบุคลากร

 

 

 

w Outsource

 1.  หน่วยงานภายนอกได้นำความรู้เฉพาะด้านมาพัฒนาการเรียน        การสอน

 1.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเป็นไปตามเป้าหมายของฝ่ายวิชาการ

50,000

ฝ่ายบุคลากร

มาตรการที่ 2

ประเมินคุณภาพบุคลากร

 

w ประเมินและติดตามการปฏิบัติงานของบุคลากร

 

 1.  ร้อยละ 100 ของครู ได้รับการติดตามการปฏิบัติงานในทุกๆ ด้าน ที่โรงเรียนมอบหมาย

 

 1.  บุคลากรร้อยละ 100 มีผลการพัฒนาจากการติดตามงาน

 2.  ครูปฏิบัติตามหน้าที่ที่รับผิดชอบอย่างครบถ้วนและเป็นระบบ

 

5,000

 

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w นิเทศบุคลากร

 1.  ร้อยละ 80 ของครูมีผลการนิเทศในระดับ 3-4

 1.  ครูร้อยละ 80 มีผลการนิเทศในระดับดี-ดีมาก

 2.  ครูมีการพัฒนาตนเองอยู่สม่ำเสมอและมีผลการนิเทศที่พัฒนาขึ้น

6,000

ฝ่ายบุคลากรและทุกส่วนการศึกษา

 

w งานส่งผลงานครูประกวดภายนอก

 1.  บุคลากรได้รับรางวัลจากภายนอก

 

 

 1.  บุคลากรได้รับรางวัลจากสถาบัน/หน่วยงาน ที่เป็นที่ยอมรับมากกว่า 3 รางวัล/ปี

20,000

-ฝ่ายบุคลากร

-ฝ่ายนวัตกรรม

-ฝ่ายวิชาการ และทุกส่วนการศึกษา

มาตรการที่ 3

สร้างขวัญและกำลังใจบุคลากร

 

w พิจารณาความดีความชอบ ประจำปี

 

 1.  ร้อยละ 100 ของบุคลากร ที่ทำงานครบ 1 ปี ขึ้นไป มีคุณสมบัติตามที่กำหนด ได้รับการพิจารณาความดีความชอบ

 2.  ร้อยละ 70 ของบุคลากรมีผลการพิจารณาความดีความชอบและขึ้นขั้นเงินเดือน ตั้งแต่ 1.00

ขึ้นไป

 

 1.  บุคลากรมากกว่าร้อยละ 90 มีผลการพัฒนาตนเองตามการพิจารณาความดีความชอบ

 2.  บุคลากรมีความกระตือรือร้น มีแรงกระตุ้นในการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเอง

 3.  บุคลากรมากกว่าร้อยละ 70 มีผลการพิจารณาความดีความชอบในระดับมาตรฐานดี

 

5,000

 

-ฝ่ายบุคลากร

-ทุกส่วนการศึกษา

-ฝ่ายสนับสนุน

 

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการครุทายาท

 1.  บุคลากรอย่างน้อย 2 คน ต่อปีการศึกษาได้รับคัดเลือกให้รับทุนครุทายาท

 1.  บุคลากรนำความรู้มาพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

30,000

ฝ่ายบุคลากร

 

w โครงการ  Patai Quality Award

 1.  บุคลากรอย่างน้อย 5 คน หรือ 1 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์การประเมิน

 2.  ร้อยละ 70 ของบุคลากรที่ได้รับรางวัลมีผลการประเมินคุณภาพที่ดีขึ้น

 

 1.  บุคลากร/หน่วยงาน กระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองและงานให้เกิดรูปแบบที่หลากหลายและเกิดประโยชน์สูงสุด

22,000

ฝ่ายบุคลากร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์ที่ 4  การอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม

กลยุทธ์หลักที่ 1    การกำหนดนโยบาย การอนุรักษ์พลังงานสิ่งแวดล้อม 

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

พัฒนานโยบายและแผนปฏิบัติงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 

 

w งานพัฒนา ปรับปรุงพัฒนาโรงเรียนที่ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 

 

 1.  เพื่อพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบให้ทุกหน่วยงานมีมาตรการในการร่วมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 

 1.  ทุกหน่วยงานมีงานและมาตรการในการ่วมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

 

10,000

 

ฝ่ายสนับสนุนและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

มาตรการที่ 2

จัดการการใช้พลังงานในโรงเรียน

 

w งานจัดการการใช้พลังงานในโรงเรียน (ไฟฟ้า, น้ำมัน)

 

 

 

 

 

 

 1.  เพื่อกำหนดนโยบายและกำกับติดตามการใช้พลังงานในโรงเรียนอย่างอนุรักษ์ (ไฟฟ้า, น้ำมัน)

 

 1.  ทุกหน่วยงานดำเนินงานได้ตามมาตรการประหยัดพลังงานร้อยละ 90

 2.  ผลของการใช้พลังงานลดลงกว่าเดิม          ร้อยละ 1: ปี

 

10,000

 

ฝ่ายสนับสนุนและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

มาตรการที่ 3

จัดการการใช้น้ำในโรงเรียน 

 

w งานจัดการการใช้น้ำในโรงเรียน

 

 

 

 

 1.  เพื่อกำหนดนโยบายและกำกับติดตามการใช้น้ำในโรงเรียนอย่างประหยัดและเกิดคุณค่าสูงสุด

 

 1.  ทุกหน่วยงานดำเนินงานได้ทุกข้อตามมาตรการประหยัดน้ำ

 2.  ผลการใช้น้ำลดลง     ร้อยละ 1:ปี

 

10,000

 

ฝ่ายสนับสนุนและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 4

จัดการขยะและของเสียในโรงเรียน

 

 

 

 

w งานจัดการขยะและของเสีย

 

 

 

 

 

 1.  เพื่อกำหนดนโยบายและมาตรการในการดูแล จัดการขยะและของเสียอย่างถูกสุขลักษณะและอนามัย

 

 1.  ร้อยละ 90 กำจัดขยะและของเสียได้ตามมาตรการ มีระบบการคัดแยกและกำจัดที่ดี

 

10,000

 

ฝ่ายสนับสนุนและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

มาตรการที่ 5

จัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน       

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาแหล่งเรียนรู้และศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียน

 

 

 1.  เพื่อดำเนินงานด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และศูนย์การเรียนรู้ เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน

 

 1.  ร้อยละ 90 ศูนย์การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม

 

30,000

 

ฝ่ายสนับสนุนและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

มาตรการที่ 6

สร้างเครือข่ายอนุรักษ์พลังงาน

 

w งานดำเนินการตามโครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านการอนุรักษ์พลังงาน

 

 

 

 

 

 1.  ทุกส่วนการศึกษาและทุกหน่วยงานดำเนินงานตามโครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านการอนุรักษ์พลังงาน

 

 1.  ทุกส่วนการศึกษาและทุกหน่วยงานร้อยละ 90 ดำเนินงานได้ตามโครงการในทุกมาตรการและพัฒนามาตรฐาน การอนุรักษ์ที่สูงขึ้น

 

 

10,000

 

ฝ่ายสนับสนุนและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

w งานดำเนินการตามโครงการยกระดับห้องเรียนสีเขียวให้เป็นโรงเรียนสีเขียว

 

 

 

 1.  เพื่อให้ทุกส่วนการศึกษาและทุกหน่วยงานรักษาคุณภาพมาตรฐานโรงเรียนสีเขียว

 1.  ทุกส่วนการศึกษาและทุกหน่วยงานร้อยละ 90 ดำเนินงานตามโครงการได้ทุกมาตรการและรักษามาตรฐานโรงเรียนสีเขียว ได้สูงขึ้น

10,000

ฝ่ายสนับสนุนและ

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

กลยุทธ์หลักที่ 2    การดำเนินการ ไผทฯเตรียมรับปรับตัวสู้โลกร้อน

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

รณรงค์การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

w กิจกรรมรณรงค์การใช้กระติกน้ำแทนขวดพลาสติก

 

 

 1.  นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนเห็นความสำคัญของการลดใช้ขวดพลาสติกโดยการใช้กระติกน้ำ

 

 1.  นักเรียน ครู และบุคลากร ร้อยละ 90 มีพฤติกรรมการใช้กระติกน้ำแทนการใช้ขวดพลาสติก

 

5,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

w  กิจกรรม Low Carbon

- รณรงค์ใช้ผ้าเช็ดหน้า

- ทานอาหารให้หมด

นักเรียน ครู และบุคลากร ในโรงเรียน

 1.  ใช้ผ้าเช็ดหน้าแทนกระดาษทิชชู

 2.  ทานอาหารหมดจาก   ทุกครั้ง

นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน

 1.  มีผ้าเช็ดหน้าใช้เป็นประจำ

 2.  ปฏิบัติ Reuse, Reduce, และ Recycle ในการทำกิจกรรมทุกครั้ง

 3.  ทานอาหารหมดจาน   ทุกครั้ง

5,000

ทุกส่วนการศึกษา

 

มาตรการที่ 2

จัดกิจกรรมไผทฯ รวมใจปลูกป่า ถวายพ่อหลวง

 

 

 

 

 

w  โครงการรวมพลังไผทฯ รักษ์สิ่งแวดล้อม น้อมถวายพ่อหลวง

o   กิจกรรม ไผทฯรวมใจปลูกป่า ถวายพ่อหลวง

 

 

 1.  เพื่อสร้างความตระหนัก ความรู้และจิตสำนึกในการร่วมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 2.  ขยายผลความรู้สู่มวลชน เป็นแกนนำรณรงค์การอนุรักษ์พลังงาน

 

 1.  นักเรียน ครู และบุคลากร ร้อยละ 90 มีจิตสำนึกการอนุรักษ์พลังงานและมีพฤติกรรมปรับเปลี่ยน

 2.  ผู้ปกครองสนใจเข้าร่วมโครงการและพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วมอนุรักษ์พลังงาน

 

36,000

 

คณะกรรมการ

ของโรงเรียน

มาตรการที่ 3

เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ

 

w โครงการไผทฯ เตรียมรับปรับตัวสู้โลกร้อน

 

 

 

 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเตรียมตัวต่อสภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น

 

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 รู้วิธีการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากสภาวการณ์ฉุกเฉินของภัยพิบัติ   ต่าง ๆ

 

50,000

 

ทุกส่วนการศึกษา

 

o   กิจกรรมประดิษฐ์คิดค้นสิ่งจำเป็นในภาวะฉุกเฉิน

เช่น ถุงยังชีพ

o   กิจกรรมการซ้อมป้องกันภัยพิบัติ

 

 

 2.  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ในการเตรียมตัวเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินและสามารถช่วยเหลือตนเองได้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เตรียมถุงยังชีพได้เหมาะสม

 3.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เตรียมรับภัยพิบัติอย่างมีความรู้และสติ

 

 

 

 

 

w โครงการผู้เรียน นักอนุรักษ์

o   กิจกรรมชีวิตสดใส ไผทฯรักษ์โลก

o   กิจกรรม 1A3R

-               กระดาษหน้าที่ 3

-               กระบวนการ Recycle

-               การประดิษฐ์เศษวัสดุ

 

 

 

 

 

 1.  เพื่อปลูกจิตสำนึกให้ผู้เรียนตระหนัก เห็นคุณค่า และประพฤติตนในการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม

 2.  ผู้เรียนรู้คุณค่าของการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมตลอดจนมีส่วนร่วมในกิจกรรมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

 1.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เป็นบุคคลตัวอย่างในการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม

 2.  ผู้เรียนมากกว่าร้อยละ 90 เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และดำเนินกิจกรรมได้ตามปฏิทินงานร้อยละ 100

10,000

-ทุกส่วนการศึกษา

-ส่วนการศึกษา

 มัธยมศึกษา

-กลุ่มสาระฯสังคม

 ศึกษา

-กลุ่มสาระฯ

 การงานอาชีพ

 

 

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกที่ดีต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าและสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการ

 3.  ผู้เรียนเข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90

 4.  ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมและความรู้ ความคิดเห็น ความสำคัญของการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์ที่ 5  การพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการศึกษา

กลยุทธ์หลักที่ 1  การประกันคุณภาพภายในสู่ภายนอก

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

จัดระบบการประกันคุณภาพภายใน ให้มีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผล

 

 

 

w งานกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพภายใน

 

 

 

 1.  เพื่อให้การดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพภายในของแต่ละหน่วยงานมีประสิทธิภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

 

 

 1.  มีรายละเอียดหลักการแนวปฏิบัติ ขั้นตอนและ ตัวชี้วัด ของการประกันคุณภาพภายในครบถ้วนร้อยละ 100

 2.  มีกำหนดการกำกับติดตามรูปแบบ PDCA

 

5,000

 

งานนโยบาย

และแผนฯ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

w งานพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน

o   สร้างแบบประเมิน เกณฑ์ ตัวบ่งชี้และคู่มือการประเมิน

อย่างละเอียด

o   สร้างระบบ การถ่วงดุลของแต่ละหน่วยงาน

(Cross Checking)

o   พัฒนาระบบประเมินรูปแบบ PDCA ของทุกหน่วยงานให้สมบูรณ์

 

 

 

 1.  เพื่อให้ทุกหน่วยงานมีระบบประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ

 2.  เพื่อให้การประเมินคุณภาพภายในเป็นไปตามระบบเดียวกัน

 3.  เพื่อให้เกิดการตรวจสอบการทำงานของแต่ละหน่วยงาน

 

 1.  ระบบประกันคุณภาพภายใน สามารถตรวจสอบการทำงานของทุกหน่วยงานได้คล่องตัว

 2.  มีเครื่องมือประเมินและกำกับติดตามร้อยละ 100 ของทุกตัวชี้วัด

 3.  ผลการกำกับติดตามเป็นไปตามผลงานแต่ละหน่วยงาน มีผลการพัฒนาขึ้น

 

10,000

 

-งานนโยบายและ

 แผนฯ

-คณะกรรมการ

 ประเมินคุณภาพ

 ภายใน

 

 

 

 

 

 

w งานการนำผลการประเมินภายในไปใช้พัฒนาคุณภาพ

 1.  เพื่อให้ทุกหน่วยของโรงเรียนได้นำผลการประเมินคุณภาพภายในไปใช้ในการกำหนดนโยบายต่อไป

 1.  ทุกหน่วยงานมีผลการวิเคราะห์การดำเนินงานที่ผ่านมา

 2.  ทุกหน่วยงานมีการนำผลการประเมินคุณภาพภายในไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน

25,000

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของ

ทุกส่วนการศึกษา

มาตรการที่ 2

ควบคุมการประกันคุณภาพภายในสู่การประเมินคุณภาพภายนอก

 

 

w จัดทำรายงานประเมินคุณภาพภายในส่งต้นสังกัด

 

 

 

 

 1.  เพื่อให้ทุกหน่วยงานรายงานผลการดำเนินงานการประเมินคุณภาพภายในของตนเอง

 

 

 1.  ทุกหน่วยงานกำกับ ติดตามการดำเนินงานในหน่วยงานและจัดทำรายงาน

 2.  ทุกหน่วยงานร้อยละ 100 จัดทำรายงานประเมินตนเองเสนอโรงเรียน

 

5,000

 

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของ

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

w จัดทำรายงานการวิจัยหน่วยงานและสถานศึกษา

 1.  เพื่อรวบรวมผลการประเมินคุณภาพภายในของทุกหน่วยงานมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนางาน

 

 1.  มีรายงานการประเมินคุณภาพภายในประจำปีทุกปี

 2.  วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติและบรรยายคุณภาพในรูปแบบงานวิจัย

5,000

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของ

ทุกส่วนการศึกษา

 

 

 

 

 

 

กลยุทธ์หลักที่ 2    การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้สู่สาธารณะ

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

 

 

 

 

 

·    สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้

·    สนับสนุนทรัพยากร

w ส่งเสริมให้มีการนำวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากภายนอกมาสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้

w ส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้

w ส่งเสริมการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

 1.  เพื่อให้ผู้ปกครอง ชุมชน ที่มีความรู้ความฉลาดเฉพาะด้าน สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ตามความถนัด

 2.  เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นและนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้

 3.  เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษาเช่น อุปกรณ์การเรียน การส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นต้น

 1.  ผู้ปกครองและชุมชนมากกว่าร้อยละ 80 เสนอตนเข้าร่วมสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้

 2.  กิจกรรมการเรียนรู้ในทุกระดับชั้นได้ทำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้

 3.  ผู้ปกครองและชุมชนมากกว่าร้อยละ 80 สนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษาอย่างหลากหลาย

 4.  ผู้ปกครองและชุมชนมากกว่าร้อยละ 80    พึงพอใจ ที่ได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

10,000

-ฝ่ายนโยบาย

-ฝ่ายวิชาการ

-ฝ่ายสัมพันธ์ชุมชน

 

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 2

เผยแพร่ความรู้สู่สังคม

 

 

 

 

 

 

·    สนับสนุนให้หน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและภาคเอกชนศึกษาการจัดการศึกษาของโรงเรียน

 

w เปิดสถานศึกษาให้เป็นวิทยาทานแก่บุคคลภายนอก

 1.  เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกใช้สถานศึกษาเป็นแหล่งวิทยาทานในการให้ความรู้และบริการชุมชน

 1.  คณะหน่วยงานภายนอกในประเทศและต่างประเทศศึกษาดูงานให้การตอบรับจากแบบสอบถามคิดเป็นร้อยละ 90 ที่ให้ความสนใจเข้าดูงาน

20,000

ฝ่ายประชาสัมพันธ์

และคณะทำงาน

·    สนับสนุนให้โรงเรียนเป็นสถานที่พัฒนาองค์ความรู้ให้แก่นิสิตและนักศึกษา

 

 

 

w งานพัฒนานักศึกษาฝึกงานร่วมกับสถาบันต่างๆ

 1.  เปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี-โท-เอก เข้ามาหาความรู้พัฒนาตนเองและฝึกปฏิบัติจริงโดยโรงเรียนเป็นศูนย์ให้ความรู้และบริการชุมชน

 1.  นักศึกษาฝึกงานจากสถาบันภาครัฐและเอกชนส่งฝึกงานกับโรงเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี

 2.  ความพึงพอใจของหน่วยงานภายนอกที่มีต่อโรงเรียน

5,000

ฝ่ายประชาสัมพันธ์

และคณะทำงาน

·    ส่งเสริมการเผยแพร่การจัดการศึกษาของโรงเรียนแก่องค์กรการศึกษาและสาธารณชน

 

 

 

 

w งานเผยแพร่ผลงาน ปัญญาทางวิชาการ และปัญญาทางคุณธรรมสู่สังคมภายนอก

 

 1.  โรงเรียนนำผลงานต่างๆ เผยแพร่ออกสู่สังคมภายนอกในรูปแบบงานนิทรรศการและการให้ความรู้ด้วยการเป็นวิทยากร

 1.  ได้รับการตอบรับจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเชิญชวนให้เข้าร่วมจัดงานเผยแพร่วิชาการในรูปแบบต่างๆ เช่น งานนิทรรศการด้านวิชาการ เป็นต้น

 

10,000

ฝ่ายประชาสัมพันธ์

และคณะทำงาน

 

 

 

 2.  ความพึงพอใจของผู้ศึกษา ผลงานวิชาการของโรงเรียน

 

 

มาตรการที่ 3

สร้างสัมพันธ์ชุมชน

 

 

 

 

 

·    สร้างเครือข่ายผู้ปกครอง    ศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน

w งานสื่อสารจากใจบ้านและโรงเรียน

o ข่าวรอบรู้ไผท (News Letter / วารสาร)

o รายงาน Pink Book 

 

 

 

 

 

 

 

 1.  เพื่อเผยแพร่ข่าวสารของโรงเรียนทั้งภายในและภายนอกให้รับทราบออกสู่ภายนอกและให้ผู้ปกครองรับทราบข้อมูลต่างๆ ทางหนังสือวารสารโรงเรียน

 2.  ผู้เรียนระดับชั้น ป.1-ม.3 เข้าร่วมร้อยละ 100

 3.  ผู้ปกครองผู้เรียนและครูร่วมกันให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์

 1.  ความพึงพอใจของผู้ปกครองและชุมชนที่มีต่อการรายงานข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน

 2.  ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนมากกว่าร้อยละ 80

 

 

10,000

ฝ่ายประชาสัมพันธ์และส่วนการศึกษา

ภาษาอังกฤษ

 

 

w โครงการสื่อสัมพันธ์บ้าน โรงเรียน

o กิจกรรมปฐมนิเทศ / Orientation

o กิจกรรมลูกรักของเรา

o กิจกรรม Open House

o กิจกรรมอำลา อาลัย

o กิจกรรม Tea and Talk (ILP, IP)

o กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน

 1.  เพื่อสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีระหว่างชุมชนบ้านโรงเรียน

 2.  เพื่อปกครองได้รับข้อมูลตามแนวทางนโยบายของโรงเรียน

 

 1.  ผู้ปกครอง, ผู้เรียน, ชุมชน มีความเข้าใจ และให้ความร่วมมือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน  

 

50,000

 

-สัมพันธ์ชุมชน

-ประชาสัมพันธ์

-กิจการนักเรียน

-ส่วนการศึกษา

 ภาคภาษาอังกฤษ

-ศูนย์จิตวิทยา   

 แนะแนว

 

 

 

 

 

 

 

 

 3.  เพื่อสำรวจความต้องการของผู้ปกครองและชุมชนต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน

 4.  เพื่อให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา

 5.  เพื่อให้ผู้ปกครองรับทราบผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา

 6.  เพื่อรับรู้พัฒนาการของลูกและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน

 7.  เพื่อเปิดโอกาสให้เยี่ยมชมการจัดการศึกษาของโรงเรียน

 8.  เพื่อสร้างความรักความผูกพันระหว่างรุ่นน้องรุ่นพี่ร่วมสถาบัน

 9.  เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียน

 2.  ผู้ปกครองมีแนวทางในการช่วยเหลือส่งเสริมการจัดการศึกษาของโรงเรียน

 3.  นำผลข้อมูลไปใช้ในการจัดการศึกษา

 4.  ผู้ปกครองให้ความร่วมมือร้อยละ 90

 5.  ผู้ปกครองร้อยละ 80 เข้าร่วมโครงการ

 6.  ผู้ปกครองพึงพอใจต่อระบบรายงานการพัฒนาการของผู้เรียน

 7.  ชุมชนผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าชม     ร้อยละ 90

 8.  ผู้เรียนรุ่นน้องรุ่นพี่ มีความรักกตัญญูต่อสถาบัน ครูร้อยละ 90

 9.  ผู้ปกครองให้ความสนใจสนับสนุนร้อยละ 90

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

10. ผู้ปกครองและครูร่วมมือกันดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่ประสบปัญหาด้านการเรียนและด้านพฤติกรรม

11. สร้างขวัญกำลังใจความรักความอบอุ่นให้กับผู้เรียน

 

 

10. ผู้เรียนที่ประสบปัญหาด้านการเรียนและพฤติกรรม มากกว่าร้อยละ 90 ได้รับการดูแลช่วยเหลือตรงตามสภาพปัญหา

11. ผู้ปกครอง ครู มีความเข้าใจร่วมมือกัน

ร้อยละ 90

 

 

 

 

 

 

 

w โครงการสร้างฐานข้อมูลผู้ปกครอง / ศิษย์เก่า  / ศิษย์ปัจจุบัน

o จัดทำแฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล (ข้อมูลส่วนตัวและทักษะ/ความสามารถเฉพาะด้าน)

o สร้าง On-line community  เช่น Face book เป็นต้น

 

 1.  เพื่อสะดวกในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน

 2.  สร้างความภาคภูมิใจให้เกิดกับผู้ปกครองศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน

สะดวกในการปรับเปลี่ยนข้อมูล ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน

 1.  มีความสะดวกและมีความเข้าใจในข้อมูลต่างๆ เพิ่มขึ้นร้อยละ 90

 2.  เกิดความภาคภูมิใจในสถาบัน ครู ร้อยละ 89

 3.  มีความสะดวกในการหาข้อมูลเพิ่มขึ้นร้อยละ 90

10,000

สัมพันธ์ชุมชน,

สารสนเทศ และ

ประชาสัมพันธ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

·    จัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน

w โครงการไผทอุดมศึกษา แทนคุณแผ่นดินไทย

o กิจกรรมเทิดทูนชาติ ศาสน์ กษัตริย์

-               วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้า

อยู่หัวและวันพ่อ

-               วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และวันแม่

      

 

 1.  เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรักและภูมิใจในชาติ

 2.  เข้าใจบทบาทและหน้าที่ของตนในฐานะคนไทยจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

 1.  ผู้เรียนรักและภูมิใจในความเป็นไทย ปฏิบัติตนตามหลักพุทธศาสนามากกว่าร้อยละ 95

 2.  ผู้เรียนรักและเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มากกว่า

ร้อยละ 90

34,000

สัมพันธ์ชุมชน/

ประชาสัมพันธ์/

คณะกรรมการกิจการนักเรียน

และกลุ่มสาระฯ

สังคมศึกษา

 

 

        -กิจกรรมวันไหว้ครู

 

 

 3.  เพื่อให้ผู้เรียนแสดงความกตัญญูต่อครู

 3.  มีความรักเคารพ ครู แสดงความกตัญญูต่อกฎมากกว่าร้อยละ 95

 

 

 

        -กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนาต่างๆ

 

 

 

 4.  เพื่อให้ผู้เรียนแสดงตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา

 4.  ผู้เรียนปฏิบัติตนในฐานะชาวพุทธที่ดี

ร้อยละ 95

 

 

 

o กิจกรรมขอบคุณจากใจ ไผทอุดมศึกษา สู่ตำรวจจราจร

 5.  เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสแสดงความมีน้ำใจ มีจิตสาธารณะและกตัญญู

 

 5.  ผู้เรียนที่เข้าร่วม     โครงการมากกว่าร้อยละ 90 รู้จักแบ่งปันทรัพย์สินหรือสิ่งของเพื่อผู้อื่น

5,000

สภานักเรียน

 

w โครงการ International Day

 

 

 

 1.  เพื่อให้ครูและนักเรียน ผู้สนใจ ได้เรียนรู้วัฒนธรรมของต่างประเทศ

 1.  ครูและนักเรียน ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรม มากกว่าร้อยละ 60

15,000

ส่วนการศึกษา

ภาคภาษาอังกฤษ

กลยุทธ์หลักที่3           การบริหารแบบองค์รวมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคล

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

สนับสนุนให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

 

 

 

 

 

w แผนพัฒนางาน ทุกส่วนการศึกษา

o โครงสร้างหน้าที่

o ภาระงานในหน้าที่

 

 

 

 1.  เพื่อให้ทุกหน่วยงานมีส่วนร่วมในการบริหารงานและหน่วยงานย่อยมีแผนพัฒนาตามเป้าหมายของหน่วยงาน

 2.  เพื่อการจัดสรรหน้าที่การทำงานได้สะดวกคล่องตัว และเหมาะสมกัน

 3.  เพื่อกำหนดแนวปฏิบัติของภาระงานในแต่ละหน้าที่ ลดการซ้ำซ้อนของการทำงาน

 

 1.  ร้อยละ 100 ทุกหน่วยงานมีแผนพัฒนาเป็นของตนเองชัดเจน

 2.  ทุกหน่วยงานมีโครงสร้างและการกำกับภาระงานในหน้าที่อย่างชัดเจน

 3.  บุคลากรทุกท่านที่ดำรงตำแหน่งมีภาระงานในหน้าที่กำกับอย่างชัดเจน

 

5,000

 

ฝ่ายบริหาร

 

 

 

w การกำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานจากการกระจายอำนาจ

 1.  เพื่อให้ทุกหน่วยงานมีระบบการกำกับติดตามการทำงานรูปแบบ PDCA

 1.  ทุกภาคเรียน ทุกหน่วยงานรายงานผลการดำเนินงานได้ตามระบบสายงาน

5,000

ฝ่ายบริหาร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

มาตรการที่ 2

จัดสรรทรัพยากร

 

 

 

w บุคลากร

 

 1.  เพื่อดำเนินภาระงานการจัดสรรบุคลากรได้ตามรายงานและความเหมาะสม

 

 1.  การจัดสรรบุคลากรเป็นไปตามระเบียบของกระทรวง

 

2,000

 

ฝ่ายบริหาร

และฝ่ายสนับสนุน

 

 

 

 

w งบประมาณ

 1.  เพื่อการจัดสรรงบประมาณอย่างเป็นสัดส่วน โปร่งใส ตรวจสอบได้

 1.  การใช้งบประมาณเหมาะสม โปร่งใส ตรวจสอบได้

2,000

ฝ่ายบริหาร

และฝ่ายสนับสนุน

 

 

 

 

w สถานที่

 1.  เพื่อการจัดสรรสถานที่และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

 1.  การบริการด้านอาคารสถานที่ เหมาะสม สร้างความพึงพอใจต่อผู้ใช้บริการ

2,000

ฝ่ายบริหาร

และฝ่ายสนับสนุน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

กลยุทธ์หลักที่ 4      การบริหารจัดการตามนโยบายพิเศษ

ประเด็นยุทธศาสตร์

งาน/โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

งาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

งบประมาณ

ผู้รับผิดชอบ

มาตรการที่ 1

โครงการบัณณาสสมโภชต่อเนื่อง ระยะ 3

 

 

 

 

 

 

w งานดำเนินงานต่อเนื่อง โครงการบัณณาสสมโภช ระยะที่ 3

 

 

 1.  เพื่อพัฒนาการดำเนินงานด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน ให้สอดรับกับโครงการบัณณาสสมโภช ระยะที่ 3

 

 1.  โรงเรียนมีผลการดำเนินงานด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เป็นที่ยอมรับของวงการศึกษา

 2.  ได้รับรางวัล       บัณณาสสมโภชครั้งที่ 2

 

30,000

 

คณะกรรมการดำเนินงานที่ได้รับมอบหมาย

มาตรการที่ 2

โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

 

 

 

 

 

w งานผู้นำเครือข่าย “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย”

 

 1.  เพื่อดำเนินงานการเป็นผู้นำเครือข่าย “บ้านนักวิทยาศาสตร์”

 2.  ขยายผลสู่โรงเรียนในเครือข่ายให้ดำเนินงานได้ตามเป้าหมาย

 

 

 1.  ผลการเป็นผู้นำเครือข่าย ประสบความสำเร็จ สามารถขยายผลสู่โรงเรียนในเครือข่ายให้ดำเนิน    กิจกรรมด้วยดี

 2.  โรงเรียนในเครือข่ายพึงพอใจการมีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกัน

 

 

30,000

 

คณะกรรมการดำเนินงานที่ได้รับมอบหมาย